บทบาทของโภชนาการต่อระบบภูมิคุ้มกัน

ผู้แต่ง

  • Jutawan Nuanchankong Department of Nutrition and Dietetics, Faculty of Science and Technology,Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage, Pathumthani.

คำสำคัญ:

โภชนาการ, สารอาหาร, ภูมิคุ้มกัน

บทคัดย่อ

การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันได้รับอิทธิพลมาปัจจัยทางโภชนาการและอาหารบริโภค ภูมิคุ้มกันที่ดีเป็นสิ่งสำคัญต่อการป้องกันอันตรายจากเชื้อโรคที่เข้ามาลุกล้ำร่างกาย การบริโภคอาหารที่อุดมด้วยสารอาหารเหมาะสม เช่น วิตามิน แร่ธาตุ และโปรไบโอติกเป็นดั่งกุญแจสำคัญของการเสริมระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง วิตามินเอ วิตามินอี วิตามินดี กลุ่มวิตามินบี วิตามินซี แร่ธาตุต่างๆ เช่น สังกะสี และซีลีเนียมรวมถึงกรดไขมันที่จำเป็นมีบทบาทในการสนับสนุนการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงของการติดเชื้อ การได้รับพลังงานและสารอาหารที่มีบทบาทด้านภูมิคุ้มกันอย่างเพียงพอจะสามารถตอบสนองต่อระบบภูมิคุ้มกันเพื่อช่วยจัดการกับเชื้อโรคหากเกิดการติดเชื้อหรือกระตุ้นการสร้างเซลล์ภูมิคุ้มกันได้ นอกจากนี้จุลินทรีย์ในลำไส้ยังมีบทบาทในการควบคุมเซลล์ภูมิคุ้มกันเช่นเดียวกัน

ผลของการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีจะช่วยควบคุมการดำเนินโรคและลดความรุนแรงการเจ็บป่วย ระยะเวลาการฟื้นตัวสั้นลงรวมถึงการเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรุณา วงษ์กระจ่าง.(2564). บทบาทของซีลีเนียมในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย. วารสารอาหาร, 51(4), 26-35.

กาญจนา อู่สุวรรณทิม.(2564). หลักวิทยาภูมิคุ้มกัน. พิมพ์ครั้งที่ 3. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พิรุณนภา เบ็ญพาดและปองพล คงสมาน.(2562). โภชนบำบัดในผู้ป่วยวิกฤต บทบาทท้าทายสำหรับพยาบาล.วารสารวชิรเวชสารและวารสารเวชศาสตร์เขตเมือง,63(3), 219–230.

สาวิตรี ดือราแม. (2564). แนวทางการบริโภคอาหารในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19):จุลินทรีย์โพรไบโอติกส์และพรีไบโอติกส์. วารสารอาหาร, 51(4) ,5-15

สุภัจฉรา นพจินดา.(2557). โพรไบโอติกส์กับการส่งเสริมสุขภาพ. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 430–

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ.2563. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ วี โปรเกรสซีฟ.

Akhtar, S., Das, J. K., Ismail, T., Wahid, M., Saeed, W., & Bhutta, Z. A. (2021). Nutritional perspectives for the prevention and mitigation of COVID-19. Nutrition Reviews, 79(3), 289–300.

Blaszczak, A. M., Jalilvand, A., & Hsueh, W. A. (2021). Adipocytes, innate immunity and obesity: A mini-review. Frontiers in Immunology, 1778.

Calder, P. C. (2013). Feeding the immune system. The Proceedings of the Nutrition Society, 72(3), 299–309.

Calder, P. C. (2020). Nutrition, immunity and covid-19. BMJ Nutrition, Prevention & Health, 3(1), 74–92.

Cerullo, G., Negro, M., Parimbelli, M., Pecoraro, M., Perna, S., Liguori, G., Rondanelli, M.,

Cena, H., & D'Antona, G. (2020). The long history of vitamin C: from prevention of the common cold to potential aid in the treatment of covid-19. Frontiers in Immunology, 11, 574029.

Chiang, K. C., Kalantar-Zadeh, K., & Gupta, A. (2022). Thymic dysfunction and atrophy in

covid-19 disease complicated by inflammation, malnutrition and cachexia. Nutrition and Health, 28(2), 199–206.

Foolchand, A., Ghazi, T., & Chuturgoon, A. A. (2022). Malnutrition and dietary habits alter

the immune system which may consequently influence sars-cov-2 virulence: a review. International Journal of Molecular Sciences, 23(5), 2564.

Gombart, A. F., Pierre, A., & Maggini, S. (2020). A review of micronutrients and the immune

system-working in harmony to reduce the risk of infection. Nutrients, 12(1), 236.

Maggini, S., Pierre, A., & Calder, P. C. (2018). Immune function and micronutrient requirements change over the life course. Nutrients, 10(10), 1531.

Manna, P. R., Gray, Z. C., & Reddy, P. H. (2022). Healthy immunity on preventive medicine

for combating covid-19. Nutrients, 14(5), 1004.

Maxfield, L., Shukla, S., & Crane, J. S. (2022). Zinc Deficiency. In StatPearls. StatPearls Publishing.

McCarthy, M. S., & Martindale, R. G. (2018). Immunonutrition in critical illness: what is the

role?. Nutrition in clinical practice : official publication of the American Society for Parenteral and Enteral Nutrition, 33(3), 348–358.

Mortaz, E., Bezemer, G., Alipoor, S. D., Varahram, M., Mumby, S., Folkerts, G., Garssen, J., &

Adcock, I. M. (2021). Nutritional impact and its potential consequences on covid-19 severity. Frontiers in Nutrition, 8, 698617.

Tourkochristou, E., Triantos, C., & Mouzaki, A. (2021). The influence of nutritional factors

on immunological outcomes. Frontiers in Immunology, 12, 665968.

Vishwakarma, S., Panigrahi, C., Barua, S., Sahoo, M., & Mandliya, S. (2022). Food nutrients as

inherent sources of immunomodulation during covid-19 pandemic. Lebensmittel-Wissenschaft & Technologie, 158, 113154.

Wu, D., Lewis, E. D., Pae, M., & Meydani, S. N. (2019). Nutritional modulation of immune

function: analysis of evidence, mechanisms, and clinical relevance. Frontiers in Immunology, 9, 3160.

Yoshii, K., Hosomi, K., Sawane, K., & Kunisawa, J. (2019). Metabolism of dietary and microbial

vitamin B family in the regulation of host immunity. Frontiers in Nutrition, 6, 48.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-31