ปัญญาประดิษฐ์กับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์

Main Article Content

กมลชนก พูลสวัสดิ์
รุ่งนภา วันเพ็ง
ศศธร ห่มซ้าย
พงศ์ประพันธ์ พงษ์โสภณ

บทคัดย่อ

ในสังคมปัจจุบันที่กำลังเผชิญกับปัญหาการของการพลิกผันของสังคม (Disruption) ที่ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ซึ่งการพลิกผันนั้นเกิดจากการพัฒนาที่ไม่หยุดนิ่งของมนุษย์ก่อให้เกิดนวัติกรรมใหม่ ๆ ขึ้นมากมาย และที่ปฏิเสธไม่ได้เลยคือ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) หรือเครื่องจักรที่มีฟังก์ชันที่มีความสามารถในการทำความเข้าใจ เรียนรู้องค์ความรู้และการแก้ปัญหาต่าง ๆ ซึ่ง AI เข้ามามีบทบาทในการดำรงชีวิต แสดงให้เห็นถึงธรรมชาติของเทคโนโลยีในด้านการเปลี่ยนแปลงการนำเทคโนโลยีเข้ามาเปลี่ยนโลกให้เข้ากับเราหรือที่มนุษย์อยากให้เป็น รวมไปถึงการศึกษาในยุค 4.0 ที่ได้นำปัญญาประดิษฐ์เข้ามาพัฒนาแอปพลิเคชันต่าง ๆ เกี่ยวกับการศึกษา มีส่วนช่วยให้ครูผู้สอนและผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ง่ายขึ้น สำหรับการจัดการเรียนการสอนในวิชาวิทยาศาสตร์ของไทยในปัจจุบันได้นำเทคโนโลยีเข้ามารวมไว้ในกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ ส่งผลให้ครูต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการสอนเพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในฐานะครูต้องมีการพัฒนาตนเองให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สามารถเลือกและนำเทคโนโลยีมาใช้ทั้งในด้านการทำงานและการจัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม อีกทั้งต้องสอนให้นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพได้ โดยเฉพาะปัญญาประดิษฐ์เป็นเครื่องมือที่ดี ที่ครูสามารถนำมาเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Coraline. (2017). What is disruption? https://bit.ly/3mDFtCr (in Thai)

Dungsunenarn, N. (2017, December 15). NASA uses artificial intelligence to discover exoplanet Kepler-90i. https://bit.ly/3JnxwLl (in Thai)

Funchian, N. (2019a, February 7). How about 4.0 era teaching? https://bit.ly/3qxAODe (in Thai)

Funchian, N. (2019b, October 8). AI and education promotion. https://bit.ly/3mF7Znc (in Thai)

Intharawiset, T., Phulketnakhon, T., Charoensa, T., Nak-in, N., Agbi, A., & Rong, P. R. (2019). Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and Arts), 12(6), 478-494. (in Thai)

Manarangsan, S. (2019, August 13). Thai people ready to deal with 6 super divisions. CP E-News. https://bit.ly/3HbgNcm (in Thai)

Natnaree TK. (2019, January 1). Researchers develop AI capable of diagnosing genetic diseases through facial scans. Beartai. https://bit.ly/3sHZxrc (in Thai)

Phimonsangsuriya, A. (2021, July 6). 10 Disruptive technology trends that affect lifestyle. ThansettakijOnline. https://bit.ly/3FAsHwa (in Thai)

Phiriyananthasin, R. (2019, January 4). New AI technology will be replacing the real human being. E-reader. https://bit.ly/3FBnDYa (in Thai)

Phumphimon, W. (2018). Knowledge of teaching and learning management. https://bit.ly/3mCeWFC (in Thai)

Rutherford, F. J., & Ahlgren, A. (1990). Science for all Americans: Chapter 3 - The nature of technology. https://bit.ly/342mNWK

Sanchez, G. (2018, June 30). How important is science? ArthomeOnline. https://bit.ly/3FDwZTq (in Thai) SAS. (2020). Artificial intelligence. https://bit.ly/32vidjh (in Thai)

Thailand Management Association. (2019, February 28). The role of AI in resolving environmental problems and creating a sustainable future. https://www.tma.or.th/2016/news_detail.php?id=362 (in Thai)

Thaiprogrammer. (2018, December 15). What is Artificial Intelligence (AI)? https://bit.ly/3pvXch0 (in Thai)

Thongprong, A. (2017). Human development of education management system in Thailand. Ph.D. in Social Sciences Journal, 7(2), 1-16. (in Thai)