การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ในอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง

Main Article Content

ดวงจันทร์ แก้วกงพาน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้รับการเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก 2) เปรียบเทียบทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้รับการเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก และ 3) ศึกษาความลักษณะทางจิต กลุ่มเป้าหมายคือ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง รวมทั้งหมด 154 คน โรงเรียนบ้านแม่ทะ จำนวน 51 คน โรงเรียนป่าตันวิทยา จำนวน 54 คน และโรงเรียนทองพิทย์วิทยา จำนวน 49 คน โดยวิธีแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) กิจกรรมการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง 2) แผนการจัดการเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเชิงรุก 3) แบบสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับทักษะการคิดขั้นสูง 4) แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับลักษณะทางจิตของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้เชิง เครื่องมือทั้งหมดได้ผ่านการตรวจสอบการหาคุณภาพเครื่องมือมีดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.50-1.00 วิเคราะห์โดยใช้สถิติข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติ เชิงพรรณนา ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า


1) ทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้รับการเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก ภาพรวมมีค่าเท่ากับ 4.24 (0.66) อยู่ในระดับมากที่สุด


2) เปรียบเทียบทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้รับการเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก ภาพรวมมีค่าเท่ากับ 4.52 (0.59) อยู่ในระดับมากที่สุด


3) ลักษณะทางจิตของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ได้รับการเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก ภาพรวมมีค่าเท่ากับ 4.52 (0.59) อยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

How to Cite
แก้วกงพาน ด. (2019). การพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้รับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ในอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 18(2), 31–39. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/173553
บท
บทความวิจัย

References

Watchara Laowreandee Poranat Kitrungraung and Orapin Sirisamphan. 2017. Active Learning Instructional Strategies for Thinking Development and Educational Improvement of the 21 st Century. Nakhon Pathom: Phetkasem Printing Group.

Tisana Khaemanee. 2016. Science of teaching: knowledge for effective learning process management. 20th edition, Bangkok: Chulalongkorn University Printing.

Kanchana Boonphak. 2014. Learning Management for Professional Teachers. Bangkok: Meanservice Dupply.

Pimpan Dechakoop and Payao Yindeesuk. 2015. Learning Management in 21st Century. 2nd Edition. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.

Nattaya Latoontheerakool. 2016. Transfrom Learning into results Thailand4.0: Guidelines for the Refrom of The Education. Online Document.

Kanchana Boonphak and Papaikan Innoi. 2018. Learning Management in Thailand 4.0 : Active Learning. Journal of Industrial Education, 17(2), 1-6.

Fink,L.Dee. 2003. Creating significant learning experiences: an integrated approach to designing college coursese. John Wiley and Sons.

Sukon Sinthapanon. 2018. New generation teachers and learning management to study 4.0. Bangkok: 9119 Techniques Printing Ltd. Partnership.

Prapansiri Susaorat. 2013. Development of thinking. 5th edition. Bangkok: 9119 Technical Printing Partnership.

Ekgapoom Jantarakantee. 2016. Science Instruction for Promoting Creative Thinking Skills. Journal of Research and Development Suan Sunandha Rajabhat University,8(1), 205-217.

Banjong Amorncheevin. 2011. Thinking School teach to thing. Bangkok: Picture Print.

Vicharn Panit. 2012. The way to create learning for the disciple in 21st Century. Bangkok: Sodsri-Saridwongso Foundation.

Sukon Sinthapanon. Et al. 2009. Develop thinking skill ... Conquer teaching. 4th edition, Bangkok: Liang Chiang Printing House

Songsaen, S. et al. 2014. The development of critical thinking for early childhood education students through mapleinstructional modle. Journal of Graduate studies ValayaLongron Rajabhat University, 8(2), 110-129.

Sakulrattanakulchai, S. 2017.The Effect of Active Learning Method on Students’ Self-learning Capacity. Journal of Research Methodology, 30(2), 229-251.

Chaimongkol, S.et al. 2014. Strategies for develop competency active learning of elementary teachers on highland. SWU Educational Administration Journal, 10(18), 1-12.