ศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตรกับการเปลี่ยนผ่านสู่ยุคสังคมติจิทัล

Main Article Content

ภัคพงศ์ ปวงสุข

บทคัดย่อ

ศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตรถือเป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญในการจัดการเรียนรู้ด้านการเกษตรให้ประสบผลสำเร็จ โดยการจัดสถานที่ต่างๆ สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ รวมทั้งการจัดกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติซึ่งส่งผลต่อกิจกรรมด้านการเกษตร ซึ่งอาจจะใช้พื้นที่สวนเกษตร แปลงเกษตร หรือสถานที่ทำการเกษตรในโรงเรียน สำหรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาเกษตรแบบบูรณาการ การศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตรให้เป็นห้องปฏิบัติการมีชีวิตเป็นเครื่องมือในการจัดประสบการณ์ที่หลากหลายและบูรณาการสิ่งแวดล้อมรอบตัว ซึ่งเป็นการเรียนรู้แบบส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรง จนเกิดความซาบซึ้งอย่างมีจิตวิญญาณด้วยการอำนวยการของผู้สอน ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ตรงอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เกิดความความสอดคล้องและสัมพันธ์กับยุคสังคมดิจิทัลที่มีการเปลี่ยนแปลงรอบด้านอย่างต่อเนื่อง กว้างขวาง และรวดเร็ว ซึ่งส่งผลกระทบต่อกระบวนการเรียนรู้ ประสบการณ์ และทัศนคติของทั้งผู้เรียน ผู้สอน ชุมชน และสังคมโดยทั่วไป การเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมดิจิทัลที่หลีกเลี่ยงไม่ได้นั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความตระหนักในการพัฒนาตนเองของทั้งผู้สอน ผู้เรียน เครื่องมือที่อำนวยการในการเรียนรู้ ชุมชน และสังคมให้มีความพร้อมที่จะส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ที่เท่าทันและยั่งยืนต่อไป

Article Details

How to Cite
ปวงสุข ภ. (2018). ศูนย์เรียนรู้ทางการเกษตรกับการเปลี่ยนผ่านสู่ยุคสังคมติจิทัล. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 17(3), 1–7. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/171754
บท
บทความปริทัศน์

References

[1] Thaiwisdom. Wisdom. Retrieved January 23, 2019, from http:/http://www.thaiwisdom.org/learn.html.

[2] Thanapol Nagata Peryklang. Learning. Retrieved January 23, 2019, from https://www.gotoknow.org/posts/197420.

[3] Wikipedia. Learning Center. Retrieved January 23, 2019, from https://th.wikipedia.org/wiki.

[4] Khaemmanee, T. 2013. Science of Teaching: A Body of Knowledge for Effective Lerning Process Facilitation. 17th Edition. Bangkok: Chulalongkorn University Press. 512 p.

[5] Jaithiang, A. 2010. Teaching Principles. 5th Edition. Bangkok: Odean Store. 267 p.

[6] Saduak, W. and Poungsuk, P. 2014. Facilitation of Agriculture Subject Learning by Using the School Agricultural Learning Center. Academic seminar document. Ph.D. Seminar 3 subject. Agricultural Education program. Faculty of Industrial Education and Technoly, KMITL.

[7] Thanapanyaratchawong, C. (1988). Principles of Agricultural Education. Songkhla: Department of Agricultural Development, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkhla University. 300 p.

[8] Office of the Education Council. (2009). Educational Reform in the Second Decade (2009-2018). Bangkok: Prigwan Graphic.

[9] Saduak W., Poungsuk, P., Phonpakdee, R. and Deeying, S. “Problem Condition in the Agricultural Learning Center Using at Praibuengwittayakom School, Srisaket Province, Thailand”. International Journal of Agricultural Technology. Vol. 13(7.2): 2117-2124.

[10] Saduak, A and Saduak, W. Praibuengwittayakom school. Srisaket province (Interview), 20th January 2019.

[11] Wikipedia. Digital data. Retrieved January 25, 2019, from https://th.wikipedia.org/wiki/ดิจิทัล.

[12] Sudbanthad, S. The Strategy on the Reform of Communicative System for Citizens of the Digital Age. Communication Arts program. Thammasat and Politics office, Office of the Royal Society. Retrieved January 27, 2019, from http://www.royin.go.th/wp-content/uploads/2018/01/pdf.

[13] Saowaluck Phanthabutr. Living Contemporarily in the Digital Age. The journal of social communication innovation. Vol. 5(2): 162-166.

[14] Pongsiri, N. Transition to the Digital Economy. HR Society Magazine (March 2018). Retrieved January 27, 2019, from https://www.dst.co.th/index.php?option=com_content&view=article&id=1229: transition-to-the-digital-economy&catid=29&Itemid=180&lang=th.

[15] Sakonsattayakorn, P. Ageing Society in the Digital Era. An academic meeting at Kanchanapisek Medical Center. Mahidol University on 5th April 2016.