การพัฒนาชุดการเรียนรู้เรื่อง ประโยชน์ของสมุนไพร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนองครักษ์ จังหวัดนครนายก
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ศึกษา 1) การพัฒนาชุดการเรียนรู้วิชาพืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ เรื่อง ประโยชน์ของสมุนไพร ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และ 2) การจัดการเรียนการสอนและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยใช้ชุดการเรียนรู้ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนองครักษ์ จังหวัดนครนายก ที่กำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2564 และเลือกเรียนวิชาพืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ จำนวน 20 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ประโยชน์ของสมุนไพร 2) ชุดการเรียนรู้ 3) แบบประเมินชุดการเรียนรู้ และ 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณภาพของชุดการเรียนรู้ วิชาพืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ เรื่อง ประโยชน์ของสมุนไพร ที่สร้างขึ้นมีคุณภาพระดับการประเมินอยู่ในระดับดี ( = 4.36) เมื่อพิจารณาจำแนกรายด้าน พบว่า ด้านเนื้อหา ระดับการประเมินอยู่ในระดับดีมาก (
= 4.50) ด้านกิจกรรม ระดับการประเมินอยู่ในระดับดี (
= 4.11) ด้านแบบทดสอบท้ายกิจกรรม ระดับการประเมินอยู่ในระดับดี (
= 4.33) และด้านการใช้ภาษาและตัวอักษรระดับ การประเมินอยู่ในระดับดีมาก (
= 4.50) มีประสิทธิภาพ 87.44/87.83 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 (E1/E2) ที่กำหนดไว้ 2) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้ วิชาพืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ เรื่อง ประโยชน์ของสมุนไพร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
"ข้อคิดเห็น เนื้อหา รวมทั้งการใช้ภาษาในบทความถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน"
References
Jirajeerangchai, S. (2002). The development of learning package in Science Subject (SC203) of "food" for the eighth grade students [Master’s thesis]. Silpakorn University. (in Thai)
Kongchinda, P. (2004). Comparison of mathematics achievement and learning skills mental arithmetic of students are taught according to the Zippa format using exercises that focus on mental arithmetic skills with students at are taught using a teacher's manual. [Report]. Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University. (in Thai)
Makmeesub, V. (2007). The developing of learning packages on economy herbs in community for seventh grade students [Master’ s thesis]. Silpakorn University. (in Thai)
Ministry of Education. (1999). National education act 1999. Siam Sport Syndicate. (in Thai)
Ministry of Education. (2008). Basic education core curriculum. Agricultural Cooperative Association of Thailand Printing House. (in Thai)
Ministry of Education. (2010). Guidelines for learning management according to the basic education core curriculum, B.E. 2551 (2008). Agricultural Cooperative Association of Thailand Printing House. (in Thai)
Pholjan, S. (2015). The development of science learning packages using cooperative learning entitled “local herb” for Prathomsuksa 3 [Master’s thesis]. Sakon Nakhon Rajabhat University. (in Thai)
Promwong, C. (2002). Teaching documents of teaching media for primary level units 8-15 (20th ed.). Sukhothai Thammathirat. (in Thai)
Sukpredee, N. (1982). Educational technology. Ganesha. (in Thai)
Tansiri, W. (2006). Educational ideology theory and practice. Chulalongkorn University Printing House. (in Thai)
Thanyaphon, W. (2003). Developing a learning series on Herbs in the community for grade 2 students [Master’s thesis]. Silpakorn University. (in Thai)
Thaweerat, P. (1986). Research methods in behavioral and social sciences. (8th ed.). Chulalongkorn University Printing House. (in Thai)
Unaromlert, T. (2011). Research methods in social sciences. Silpakorn University. (in Thai)