การหาการประสิทธิภาพระบบแจ้งเตือนการล้มของผู้ป่วยและผู้สูงอายุจากอุปกรณ์ช่วยเดินผ่านแอปพลิเคชันไลน์

Main Article Content

ประสงค์ศักดิ์ สองศรี

บทคัดย่อ

งานวิจัยที่นำ เสนอนี้เป็นงานวิจัยเพื่อหาการประสิทธิภาพระบบแจ้งเตือนการล้มของผู้ป่วยและผู้สูงอายุจากอุปกรณ์ช่วยเดินผ่านแอปพลิเคชันไลน์ สำหรับคนที่ดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุตามสถานการณ์ต่างๆ โดยผู้วิจัยได้เริ่มต้นการวิจัยและพัฒนาอุปกรณ์ต้นแบบวอคเกอร์ช่วยเดินผู้ป่วยและผู้สูงอายุผ่านแอปพลิเคชันไลน์ โดยวัตถุปรางค์ของงานวิจัยในครั้งนี้ 1.เพื่อออกแบบสร้างต้นแบบวอคเกอร์ช่วยเดินผู้ป่วยและผู้สูงอายุผ่านแอปพลิเคชันไลน์ 2. เพี่อหาประสิทธิภาพของระบบแจ้งเตือนการล้มของผู้ป่วยและผู้สูงอายุผ่านแอปพลิเคชันไลน์ 3. เพี่อหาพิกัดตำแหน่งผู้ป่วยและผู้สูงอายุผ่านแอปพลิเคชันไลน์ จากการผลการทดสอบหาการประสิทธิภาพระบบแจ้งเตือนการล้มของผู้ป่วยและผู้สูงอายุจากอุปกรณ์ช่วยเดินผ่านแอปพลิเคชันไลน์ และระบบบอกตำแหน่งของ GPS ของตัวเครื่อง พบว่าผู้วิจัยได้หาการประสิทธิภาพของเครื่องโดยการทดสอบความไวของการส่งสัญญาณของตัวเครื่องระบบแจ้งเตือนการล้มของผู้สูงอายุผ่านแอปพลิเคชันไลน์ สามารถส่งสัญญาณ จากตัวเครื่องไปยังแอปพลิเคชันไลน์ ของผู้ดูแลผู้สูงอายุได้ตามวัตถุประสงค์ โดยผู้วิจัยได้จำลองเหตุการณ์ว่า ผู้สูงอายุล้ม จากตัวบ้านหรือสถานที่ในการดูแลผู้สูงอายุ ทั้งหมด 3 ชั้น ซึ่งแต่ละชั้นทำการทดลอง 5 ระยะ โดยทำการทดลอง 10 ครั้ง และได้ทดสอบความไวของตัวเครื่อง ทั้ง 3 ดู พบว่าเครื่องจะส่งความไวในระยะดีที่สุดคือ ระยะ 3 เมตร  ในส่วนของระบบ GPS ระบุตำแหน่งของตัวเครื่องมีความ แม่นยำสามารถบอกตำแหน่งของตัวเครื่องได้ และมีความไวในการส่งสัญญา

Article Details

How to Cite
สองศรี ป. (2023). การหาการประสิทธิภาพระบบแจ้งเตือนการล้มของผู้ป่วยและผู้สูงอายุจากอุปกรณ์ช่วยเดินผ่านแอปพลิเคชันไลน์. วารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม, 10(1), 86–96. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JEET/article/view/252200
บท
บทความวิจัย

References

ส.ณ.ฐิติรัตน์ บัวระภา,ส.ณ.สิงห์ มาเยอะ,ส.ณ.วิทวัส เลาเฒ่า,(2562) .ต้นแบบเครื่องช่วยเดินเพื่อผู้สูงอายุ.

โครงการสนับสนุนทุนทำโครงงานสำหรับโรงเรียนพระปริยัติธรรม.หน้าที่ 1-31

วรัตถ์ สิทธิ์เหล่าถาวร, (2559). การออกแบบโครงช่วยฝึกเดินที่มีระบบพยุงน้ำหนักบางส่วนสำหรับผู้ที่มี

ปัญหาการเคลื่อนไหวด้านการเดิน.วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร วิศวกรรมศาสตร์

มหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์

อรอุมา บณยารมย์,พิมพร จันทร์แก่นทอง,ณัฐรินีย์ เลิศสถิตรุ่ง,สมภิยา สมถวิล,รณกฤต แสงผ่อง,จุฑาลักษณ์

กองสุข (2557).การพัฒนาเครื่องช่วยเดินแบบมีเก้าอี้พับเก็บได้ พร้อมอุปกรณ์ ออกกำลังกายขา. Chula

Med J Vol. 58 No. 6 November- December 2014

วรัตถ์ สิทธิ์เหล่าถาวร. (2559).การออกแบบโครงช่วยฝึกเดินที่มีระบบพยุงน้ำหนักบางส่วนสำหรับผู้ที่มี

ปัญหาการเคลื่อนไหวด้านการเดิน. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต:คณะวิศวกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.สืบค้นจาก

http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/TU_2016_5810032077_7219_5039.pdf

ซะห์ลัน เหสามี,รุสลัน หะมะ.(2560).ระบบแจ้งเตือนความปลอดภัยในห้องเซิร์ฟเวอร์ผ่านแอปพลิเค

ชันไลน์. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี :

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา