ผลกระทบของการเชื่อมอาร์คไฟฟ้าที่มีต่อความแข็งแรงของรอยต่อท่อเหล็กบางจากการปรับค่าตัวแปรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการเชื่อม

Main Article Content

Prayat Meeboongirt
ดร. เพชรรัตน์ จันทรทิณ
ดร. อนุรักษ์ จันทร์ศรี
พลโท ดร. พิทักษ์ เกียรติพันธ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาวิธีการที่เหมาะสมในการเชื่อมท่อบางให้มีความแข็งแรง โดยการทดลองใช้ท่อเหล็กบางที่มีขนาด Ø20.50 มม. หนา 1.60 มม. ยาวท่อนละ 100 มม. มาเชื่อมต่อกันด้วยวิธีการเชื่อมอาร์คไฟฟ้า โดยมีการปรับเปลี่ยนค่าพารามิเตอร์ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ขนาดลวดเชื่อม Ø2.0 และ Ø2.6 มม., ลักษณะรูปแบบการเดินแนวเชื่อมเป็นแบบเดินเป็นแนวตรง และแนวซิกแซก, และปรับกระแสไฟเชื่อมที่ใช้กับสวดเชื่อม 2 ขนาด ให้มีการใช้กระแสเป็น 3 ช่วง, ต่ำ, กลาง และสูง ตามค่ามาตรฐานการปรับตั้งกระแสไฟเชื่อมของลวดเชื่อมแต่ละขนาด จากนั้นนำไปทดสอบแรงดึงโดยเครื่อง Universal Testing Machine เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบความแข็งแรงของแนวเชื่อมที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทั้ง 3 ด้านนั้น มีผลต่อความแข็งแรงของแนวเชื่อม กล่าวคือ ขนาดลวดเชื่อมที่มีขนาดใหญ่ Ø2.6 มม. จะช่วยทำให้แนวเชื่อมมีความแข็งแรงมากกว่าลวดเชื่อมขนาดเล็กที่มีขนาด Ø2.0 มม. ลักษณะการเดินแนวเชื่อมแบบซิกแซก จะทำให้แนวเชื่อมที่เชื่อมด้วยลวดเชื่อมทั้ง 2 ขนาดมีความแข็งแรงมากกว่าการเดินแนวเชื่อมแบบแนวตรง และการใช้กระแสไฟเชื่อมของลวดเชื่อมทั้ง 2 ขนาดในช่วงปานกลางไปจนถึงสูง จะให้แนวเชื่อมที่มีความแข็งแรงมากกว่าช่วงกระแสไฟเชื่อมต่ำ


 


คำสำคัญ: การเชื่อมอาร์คไฟฟ้า, ท่อเหล็กบาง, กระแสไฟเชื่อม

Article Details

How to Cite
Meeboongirt, P., จันทรทิณ ด. เ. ., จันทร์ศรี ด. อ. ., & เกียรติพันธ์ พ. ด. พ. . (2023). ผลกระทบของการเชื่อมอาร์คไฟฟ้าที่มีต่อความแข็งแรงของรอยต่อท่อเหล็กบางจากการปรับค่าตัวแปรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการเชื่อม. วารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม, 10(1), 41–56. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JEET/article/view/251790
บท
บทความวิจัย

References

TM Thermal Mechanics. การเชื่อมอาร์คโดยใช้อิเลคโตรดหุ้มฟลักซ์. สืบค้นจาก https://thermal-

mech.com/.

จุดบกพร่องในงานเชื่อม (Defects of Welding), [Online] Available: https://www.craftskill. co/post/welding-

Defects.

สมบูรณ์ เต็งหงส์เจริญ. วิศวกรรมการเชื่อม. สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ (ศสว.).

เสกศักดิ์ อัศวะวิสิทธิ์. (2550). การทดสอบแรงดึง. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย. กรุงเทพฯ.

metalsteelok.com. เชื่อมเหล็กกล่องบางอย่างไรไม่ให้ทะลุ, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา:

https://metalsteelok.com/2021/03/02/เชื่อมเหล็กกล่องบาง/.

University of Phayao (2559, มกราคม 26). การทดสอบกำลังดึงของรอยเชื่อม. Manual of Civil Engineering

Materials and Testing Laboratory. School of Engineering, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา:

http://engineeringmaterialsproject.blogspot.com/2015/12/9.html.

Tack welding pipe, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา : https://www.wcwelding.com/welding-techniques.html.

การทดสอบแรงดึงวัสดุโลหะ. (2013, February). American Society for Testing and Material, Standard

Test Methods for Tension Testing of Metallic Materials.E8/E8M-11. In Annual book of ASTM standard

Vol.03.01 West Conshohocken : ASTM,2012, p.65-91, Tensile Testing, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา:

http://www.asminternational.org/pdf/spotlights/5106_01.pdf

Strength of Materials. [ระบบออนไลน์] Available: https://sites.google.com/site/opasmuongyot2540/

การทดสอบเชิงกล สมบัติเชิงกลและการเพิ่มความแขงแรงของวัสดุ, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา: https://

ces.wu.ac.th/news/08/n23379.pdf

การทดสอบแรงดึง (Tensile Testing), [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา: file:///C:/Users/Administrator/Downloads

/Documents/MY318-6.pdf

Tension Test, [Online] Available:

file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Documents/f20090909sukangkanal28.pdf

BHRC Research Weekly, รู้จักกับความหมายของ ค่านัยสำคัญทางสถิติ (STATISTICAL SIGNIFICANT),

[ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา: https://www.bangkokhealth.com/v2/research-weekly-28.html

การหา P-Value, [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา:

https://m.facebook.com/1812255885675524/posts/1856824494551996/

Walker, H. W. Degrees of Freedom ทางสถิติ, Degrees of Freedom, [Online] Available: Journal of

Educational Psychology. 31(4), (1940), pp. 253-269.

t-test (การทดสอบที) [ระบบออนไลน์], แหล่งที่มา: file:///C:/Users/Administrator/Desktop/tTestText57.pdf

จรัญ จันทลักขณา. 2549. สถิติการวิเคราะห์และการวางแผนงานวิจัย. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สันติชัย ชิวสุทธิศิลป์. 2551. การหาค่าสภาวะที่เหมาะสมที่สุดสำหรับขบวนการเชื่อมโลหะ.

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Fabricating Metal Welding "The Business of Metal Manufacturing". (2021, September 14) What Is Weld

Tensile Testing and Why Is It Important?, [Online] Available:

https://www.fabricatingandmetalworking.com/2021/09/what-is-weld-tensile-testing-and-why-is-it-

important/

บทความโดย ครูสุริยนต์ ฉิ่งแก้ว. เครื่องมือการทดสอบความแข็งงานเชื่อมโลหะ, [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา:

file:///C:/Users/Administrator/Downloads/Documents/021-59.pdf

สมบูรณ์ เต็งหงส์เจริญ และ บัณฑิต ใจชื่น. การตรวจสอบงานเชื่อมโลหะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :

ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, 2541.

ซิเกะอากิ ยามาโมโต้. วิศวกรรมการเชื่อม. กรุงเทพฯ : ไทยโกเบเวลดิ้ง, ม.ป.ป.

ขจรศักดิ์ ศิริมัย. (2538). โลหะวิทยางานอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : สยามสปอร์ตซินเคท.