การศึกษาวิเคราะห์เพื่อลดความร้อนในระบบกรอบอาคาร

Main Article Content

Soonthorn Saengpetch

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เพื่อเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของกรอบอาคารเพราะว่าประเทศไทยมีที่ตั้งอยู่ในเขตแบบภูมิอากาศร้อนชื้น ทำให้อาคารที่ใช้อยู่ปัจจุบันมีสภาพอากาศร้อนทำให้สิ้นเปลืองค่าพลังงานไฟฟ้าเราจึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับกรอบอาคาร โดยกรอบอาคารที่ดีควรสามารถป้องกันไม่ให้ความร้อนเข้ามาภายในตัวอาคารมากจนเกินไป เพื่อลดภาระการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ และนำไปสู่การลดการใช้และค่าใช้จ่ายด้านการสิ้นเปลืองกระแสไฟฟ้า โดยปกติภาระการปรับอากาศที่เกิดจากความร้อนถ่ายเทจากภายนอกอาคารเข้าสู่ตัวอาคาร จะมีสัดส่วนสูงกว่าความร้อนที่เกิดขึ้นภายในอาคารเอง การที่เราสามารถเข้าใจกลไกของการถ่ายเทความร้อนเข้าสู่อาคารว่าเป็นอย่างไร มีลักษณะใดบ้าง และทราบถึงวิธีการประเมินสมรรถนะของกรอบอาคาร จะช่วยให้เราสามารถวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางป้องกันความร้อนเหล่านั้นไม่ให้เข้ามาภายในอาคารสำหรับอาคารหนึ่งๆ ภาระการปรับอากาศเป็นผลจากปัจจัยภายนอก อันได้แก่ ความร้อนที่การถ่ายเทจากภายนอกอาคารเข้าสู่ตัวอาคาร และจากปัจจัยภายใน อันได้แก่ ความร้อนที่เกิดจากภายในตัวอาคารเองโดยปกติแล้ว ความร้อนจากที่ถ่ายเทจากภายนอกจะมีสัดส่วนสูงกว่าความร้อนที่เกิดขึ้นจากภายใน คือ คิดเป็นร้อยละ 60 ของภาระการปรับอากาศ

Article Details

How to Cite
Saengpetch, S. (2023). การศึกษาวิเคราะห์เพื่อลดความร้อนในระบบกรอบอาคาร. วารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม, 10(1), 31–40. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JEET/article/view/251548
บท
บทความวิจัย

References

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, (2547), ตำราฝึกอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน

(ผชพ.)สามัญ

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, (2550), คู่มือมาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในอาคารกรม

พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน. (พ.ศ. 2545). บทที่ 2 การเลือกใช้

วัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างที่มีคุณสมบัติความเป็นฉนวน 10 ชนิด. In เอกสารเผยแพร่ แนวทางการ

เลือกใช้วัสดุก่อสร้างและฉนวนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (pp. 2-1 - 2-15)

ผศ.ดร.สุธรรม นิยมวาส และบัญญัติ นิยมวาส, (2549). เครื่องจักรกลของไหล, สํานักพิมพ์วิทยพัฒน์ จํากัด,

กรุงเทพฯ, [4] เกษม จันทร์แก้ว และคณะ. (2543). โครงการศึกษาวิจัย และพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อัน

เนื่องมาจาก พระราชดำริ.ตำบลแหลมผักเบี้ยอำเภอบ้านแหลม: เพชรบุรี

ชัยโรจน์ธนสันติ. (2535).การมีส่วนร่วมของสภาตำบลในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ:ศึกษากรณีจังหวัด

อุบลราชธานี.วิทยานิพนธ์สังคมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดล้อม, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

คู่มือฝึกกอบรมการอนุรักษ์พลังงานภาคปฏิบัติด้านไฟฟ้า (Mini Plant), โครงการทดลองจัดระบบการสอบและ

การพัฒนาหลักสูตรฝึกกอบรม PRE, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

ศราพร ไกรยะปักษ์. (2553).รูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการพลังงานชุมชน.วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์

มหาบัณฑิต สาขาสิ่งแวดล้อม, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล

นิพนธ์เกตุจ้อย. ( 2546).ระบบไฟฟ้าขนาดเล็กจากพลังงานหมุนเวียนสำหรับหมู่บ้านที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ในประเทศ

ไทย.ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมพลังงานแสงอาทิตย์, มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก

Cohen, J.M. และ N.T. Up off. (1977), Rural Development Participation: Concept and Measures for

Project Design Implementation and Evaluation. Rural Development Committee Center for International

Studies, Cornell University.

Boyle. (1996). Renewable Energy Power for a Sustainable Future. New York: Oxford University Press

Lars Kroldrup,(2010), Gains in Global Wind Capacity Reported Green

Inc,http://green.blogs.nytimes .com/author/lars-kroldrup/Ristinen , Robert A.&Kraushaar,Jack. J ,(1999)

Energy and the Environment, New York: John Wiley & Son –

http://greenthefuture.com/HYDROELECTRIC_DIY_WATERWHEEL.html ,Vertical wind turbine

Online -http://windy-future.info/tag/vertical-wind-turbine/