กำลังทางกลและสมรรถนะของเครื่องยนต์พลังแม่เหล็ก
Main Article Content
บทคัดย่อ
การออกแบบและสร้างเครื่องยนต์พลังแม่เหล็ก ทั่วไปมักออกแบบให้เป็นการเคลื่อนที่เชิงเส้น ไป-มาของลูกสูบ โดยใช้แรงผลักของแม่เหล็กเป็นพลังงานผลักบริเวณหัวลูกสูบส่งผลให้ลูกสูบเคลื่อนที่ส่งกำลังไปยังเพลาข้อเหวี่ยงทำให้เกิดการหมุน งานวิจัยนี้ได้ออกแบบและสร้างเครื่องยนต์พลังงานแม่เหล็ก ศึกษากำลังทางกลและสมรรถนะของเครื่องยนต์พลังงานแม่เหล็ก ออกแบบร่องของโรเตอร์มีขนาด 52 mm ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 130 mm และเพลามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 mm ในชุดทดสอบลูกสูบ 1 ลูก จะมีอุปกรณ์ยึดติดแม่เหล็กจำนวณ 4 ชิ้น เกรด N52 ติดรอบโรเตอร์ ในเครื่องยนต์นี้มีลูกสูบจำนวน 2 ลูก ทดสอบแรงบิดเครื่องยนต์พลังแม่เหล็กด้วยไดนาโมมิเตอร์แบบสายพาน ค่าแรงบิด 0.084 N·m 0.089 N·m 0.084 N·m และ 0.074 N·m และกำลังทางกลสูงสุดอยู่ที่ 1.718 W 2.198 W 2.382 W และ 2.469 W ที่ความเร็วรอบ 200 rpm 250 rpm 300 rpm และ 350 rpm ตามลำดับ เครื่องยนต์พลังแม่เหล็กสามารถทำงานได้เสมือนเครื่องยนต์สันดาปภายในซึ่งเป็นอีกทางเลือกสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคต
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข่อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือว่าร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม หากบุคคล หรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เท่านั้น
References
ดร.ธนาวดี ลี้จากภัย. (2565, สิงหาคม. 28). รถยนต์กับการเดินทางที่เพิ่งเริ่มต้น, แหล่งที่มา: https://www2.mtec.or.th/th/e-magazine/admin/upload/226_8-13-edit.pdf
M. Sudheer, K. Vasu and K. S. Vamsi, “Magnetic Piston Engine”, International Journal of Mechanical Engineering and Robotics, 3 (1), 2014, pp. 59-66.
T. Ahmad and D. Zhang, “A critical review of comparative global historical energy consumption and future demand: The story told so far”, Energy Reports, 6, 2020, pp. 1973-1991.
P. A. Owusu and S. Asumadu-Sarkodie, “A Review of Renewable Energy Sources, Sustainability Issues and Climate Change Mitigation”, Cogent Engineering, 3, 2016, pp. 1-14.
World Energy Resources, World Energy Council, 2016, pp. 6-46.
V. Bhaskar, R. H. Prakash and B. D. Prasad, “Hydrogen Fuelled IC Engine – An Overview”, International Journal of Innovative Technology and Research, 1 (1), 2013, pp. 46-53.
J. A. Sanguesa, V. Torres-Sanz, P. Garrido, F. J. Martinez and J. M. Marquez-Barja, “A Review on Electric Vehicles: Technologies and Challenges”, Smart Cities, 4, 2021, pp. 372-404.
H. Palacios. (2022, July. 20). Magnetic Repulsion Piston Engine (MRPE). [Online] Available: https://contest.techbriefs.com/2011/entries/sustainable-technologies/1378
ICELANDIC CO., LTD. (2022, August. 9). Permanent Magnet. [Online] Available: http://www.iclmagnet.com/products_list.php?type=Permanent%20Magnet
Ningbo Risheng Magnets Co., Ltd. (2022, August. 9). Grades of Neodymium Magnets. [Online] Available: https://www.rishengmagnets.com/products/neodymium-magnets?gclid=EAIaIQobChMIsZjmxriq-gIVypNmAh3OJAyZEAAYAiAAEgL78fD_BwE
P. Ganesh Bairavan and T. Anojan. “Design and Fabrication of Magnetic Engine”, International Journal of Research in Engineering and Technology, 6 (4), 2017, pp. 17-21.
K. Srirussamee, B. Hok and A. Phukaoluan. “Thermomechanical Performance of the Offset Crankshaft Heat Engine Driven by TiNiCu Shape Memory Alloys”, Engineering Journal, 25(2), 2021, pp. 85-93.