เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา

Main Article Content

มงคล จงสุพรรณพงศ์

บทคัดย่อ

เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาวะความดันสูงถูกนำไปทดลองบำบัดน้ำเสียจากบ่อเลี้ยงปลา ผลการทดลองพบว่า เครื่องมือดังกล่าวสามารถเพิ่มปริมาณออกซิเจนของน้ำเสีย (dissolved oxygen: DO) จากบ่อปลา 0.0+0.0 เป็น 8.0+0.5 มล./ล. ภายในเวลา 1-4 ชั่วโมง นอกจากนี้แล้ว เครื่องมือดังกล่าวยังมีความสามารถในการลดค่าความสกปรกในรูปของซีโอดี (COD) และบีโอดี (BOD) ในน้ำเสียลงได้อีกด้วย โดยสามารถลดค่าซีโอดี และบีโอดี ในน้ำเสียจากบ่อปลาได้ถึงร้อยละ 21.19+2.10 ในเวลาเพียง 1.4 ชั่วโมง

Article Details

How to Cite
จงสุพรรณพงศ์ ม. (2014). เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา. วารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม, 1(1), 34–42. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JEET/article/view/180968
บท
บทความวิจัย

References

[1] Bollyky, L. J. 2002. Benefits of Ozone Treatment for Bottled Water. Ozone News. 31(2): 12-21.

[2] Evans, F. L. 1972. Ozone in Water and Wastewater Treatment. Ann arbor Science Pub, lnc. Michigan. P.185.

[3] Zhou, H. and Danial, W.2000. Ozone Mass Transfer in Water and Wastewater Treatment: Experimental Observations Using a 2D Laser Particle Dynamics Analyzer. Water Res. 34: 909-9211.

[4] Ternes, T.A.1998. Occurrence of Drugs in German Sewage Treatment Plants and Rivers. Water Res. 32: 3245-3260.

[5] Moris, K. 1977. Method of Sampling and Analysis, APHA Intersociety Committee. 2nd edition. American Public Health Association. Washington.

[6] APHA, AWWA, WPCF. 1995. Standard Methods for Examination of Water and Wastewater: 19th edition. American Public Health Association. Washington DC.

[7] Kutner, M.H., Christopher, J. and Buser, H.R. 2005. Applied Linear Statistical Models. 5th Edition (International Edition). McGraw - Hill Irwin. Boston.