การจัดการสิ่งแวดล้อม
Main Article Content
บทคัดย่อ
ปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เป็นประเด็นที่นานาประเทศทั่วโลกให้ความตระหนัก ดังนั้นการจัดการสิ่งแวดล้อมจึงมีความสำคัญเพื่อที่จะลดปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เหล่านั้น บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยต้องทำความเข้าใจองค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อมก่อน เนื่องจากสิ่งแวดล้อมมีความเป็นพลวัต และต้องมีการวาแผนและจัดการสิ่งแวดล้อม (ดังกรณีศึกษา: แม่น้ำบางปะกง) การนำเทคนิค Plan-Do-Check-Act (PDCA) มาประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม การนำเอาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น ISO (International Organization for Standardization) 14000 และเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ในองค์กร และการสร้างเครือข่ายการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถสร้างแรงจูงใจและความตระหนักในการลดปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ภายในองค์กรและชุมชน
Article Details
เนื้อหาและข่อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือว่าร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม หากบุคคล หรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เท่านั้น
References
[2] CH Walker, SP Hopkin, RM Sibly and DB Peakall. Principles of Ecotoxicology. 3rd ed. Taylor & Francis, New York, 2006.
[3] ชาลี นาวานุเคราะห์. วิทยาศาสตร์ของโลกทั้งระบบ (Earth System Science). คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม, 2550.
[4] JS Gulliver. Introduction to Chemical Transport in the Environment. Cambridge University Press, New York, 2007.
[5] เกษม จันทร์แก้ว. วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร, 2544.
[6] กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น. มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม. กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย, กรุงเทพมหานคร, 2550.
[7] JE Cloern, Available at: www.eoearth.org/article/Eutrophication, accessed April 2014.
[8] MW Holdgate. A Perspective of Environmental Pollution. Cambridge University Press, Cambridge, 1979.
[9] แหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ชาวนคร, Available at: www.nstlearning.com/~km/?cat=22, accessed April 2014.
[10] P Sawangwong. Handouts for the Course of Advanced Aquatic Pollution: Chapter 6 – Pollution and Self-purification of Streams and River. Burapha University, Thailand, 2008.
[11] WE Deming, Available at: http://www.iiquality.com/seminars/deming_cycle.php, accessed April 2014.
[12] เดช เฉิดสุวรรณรักษ์, Available at: www.tccnature.wordpress.com/2008/01/07, accessed April 2014.
[13] กรมโรงงานอุตสาหกรรม, Available at: www.diw.go.th/iso/iso14000.html, accessed April 2014.
[14] A Wattanakornsiri, J Nanuam, S Tongnunui and K Pachana. Clean Technology: An Effective Tool for Pollution Prevention. Koch Cha Sarn Journal of Science. 2009, 32, 77-88.
[15] P Sittisunthorn, P Reanwattana and S Pengpreecha. Research Report: Feasibility Study on Clean Technology for Chemical Industry in Thailand. Thailand Environment Institute, Bangkok, Thailand, 1998.
[16] A Remmen. Greening of Industry – Technological and Industrial Innovations. Aalborg University, Aalborg, Denmark, 1999.