Assembly Line Balancing Improvement: A Case Study of Freezer Factory
Main Article Content
Abstract
The purpose of this research is to reduce waste in manufacturing. By improving the balance of the production line, the case study is a two-door freezer type. According to statistical data of the past, The management found serious problems in production efficiency. Productivity was not follow the production plan and there was the bottleneck in the production line. The efficiency of the freezer assembly process was currently equal to 61.79%, Which it was still at a low level. The work study and production line balancing technique was to be applied. And 3 heuristics were to be presented, including the Largest-Candidate Rule, Kilbridge and Wester Method and Ranked Positional Weights Method. The results found that there were two heuristics to provide the better solution as well, including the Largest - Candidate Rule and the Ranked Positional Weights Method. They could reduced the number of work stations from 17 stations to 11 stations and reduced the idle time from 194.87 minutes to 14.87 minutes. The efficiency of the production line was increased up from 61.79% to 95.49%, and the labor cost was saved to 4,327 baht / day.
Article Details
เนื้อหาและข่อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือว่าร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม หากบุคคล หรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เท่านั้น
References
[2] ณัฐกานต์ วีรานันต์ (2550). การพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการผลิตโดยการจัดสมดุลสายการผลิต กรณีศึกษา โรงงานผลิตตู้แช่เครื่องดื่ม, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[3] นุชสรา เกรียงกรกฎ และปรีชา เกรียงกรกฎ (2555). โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการจัดสมดุลสายการประกอบ กรณีศึกษา โรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป จ.อุบลราชธานี, วิศวกรรมสาร มข., 39(2), เมษายน-มิถุนายน 2555, 131-138.
[4] เมธัส หีบเงิน (2549). การพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิตโดยการปรับปรุงกระบวนการผลิต กรณีศึกษา โรงงานทำตู้น้ำเย็น, วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[5] ยุทธพงษ์ อดทน (2552). แนวทางการจัดสมดุลสายการผลิต กรณีศึกษา โรงงานโคมไฟฟ้า, ปัญหาพิเศษ,
ปริญญาอุตสาหกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[6] วรพจน์ ศรีเกิน (2551). การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตโดยใช้เทคนิคการศึกษางานและเทคนิคสมดุลการผลิตในกระบวนการการผลิตกระเป๋าเล็กของบริษัทธนูลักษณ์จำกัด (มหาชน), การค้นคว้าอิสระปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[7] อรกานต์ อินทะจักร (2552). การปรับปรุงประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตโดยใช้เทคนิคการจัดสมดุลสายการ
ผลิตเพื่อลดต้นทุนและพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ กรณีศึกษา น้ำดื่มศิรดา อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง, วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.
[8] ปรีชา เกรียงกรกฎ (2555). การวางแผนและควบคุมการผลิต, เอกสารประกอบการสอน,คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
[9] กุสุมา ธรรมนุ (2554). การลดความสูญเปล่าจากการรอคอยของพนักงานควบคุมเครื่องประกอบอัตโนมัติ
กรณีศึกษา โรงงานผลิตตัวเชื่อมต่อสายไฟในรถยนต์, สารนิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.