การศึกษาปัจจัยรูปแบบกริดและรูปแบบภาพ ที่มีอิทธิพลต่อการจดจำรูปภาพ

Main Article Content

ณัฐธนนท์ หงส์วริทธิ์ธร
เกรียงไกร มะโนใจ

Abstract

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างรหัส ผ่านด้วยภาพบนตารางกริด โดยทำการทดลองในลักษณะ เล่นเกมส์จำภาพและใช้แบบสอบถามความคิดเห็นกับผู้เข้า ร่วมทดลองทั้งหมด 1,069 คน ใช้รูปแบบการทดลองแบบ ผสม (Mixed Design) การทดลองแบ่งเป็น 2 ชุดการทดลอง คือชุดการทดลองแรกจะใช้ภาพบุคคล และชุดการทดลอง ที่สองจะใช้ภาพที่ไม่ใช่บุคคลบนตารางกริด 2 แบบคือ แบบ จัตุรัสและไม่ใช่จัตุรัส ให้ผู้เข้าร่วมทดลองจำภาพ 5 ภาพที่ ปรากฏขึ้นบนตารางกริดแต่ละแบบ ผู้เข้าร่วมการทดลอง 1 คนจะถูกสุ่มให้ทำการทดลอง 1 ชุดการทดลอง แล้วทำการ ประเมินผลการทดลองจากจำนวนภาพที่จำได้ ผลการ ทดลองพบว่าปัจจัยรูปแบบภาพ (บุคคลและไม่ใช่บุคคล) มิได้ มีผลต่อจำนวนภาพที่จำได้บนตารางกริดแบบจัตุรัสและไม่ใช่ จัตุรัส หากพิจารณาเฉพาะตารางกริดแบบจัตุรัสระหว่างแบบ 4x4 และ 5x5 กลับพบว่าปัจจัยรูปแบบภาพส่งผลต่อจำนวน ภาพที่จำได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยที่รูปแบบภาพที่ไม่ใช่บุคคล ส่งผลต่อจำนวนภาพที่จำได้มากกว่ารูปแบบภาพบุคคล ใน ด้านปัจจัยรูปแบบตารางกริดพบว่าตารางกริดแบบจัตุรัส ส่งผลต่อจำนวนภาพที่จำได้มากกว่าแบบไม่ใช่จัตุรัสอย่างมี นัยสำคัญ แต่ถ้าพิจารณาเฉพาะตารางกริดแบบจัตุรัส (4x4 และ 5x5) กลับพบว่าปัจจัยด้านขนาดตารางมิได้ส่งผลต่อ จำนวนภาพที่จำได้

 

The Grid Layout and Image Form Factors that Influence Image Recognition

Nuttanont Hongwarittorrn and Kriangkrai Manochai

This research examined factors which affected password creation using images on a grid. The experiment was carried out with 1,069 participants, by simulating a game of recalling pictures and using a questionnaire to gather users’ feedback. A mixed-model experimental design was employed in this research. There were two experimental groups. The participants were randomly assigned into a group. The participants in the first group would have to memorize and recall human images, while the participants in the second group would have to do with images of objects instead. There were two kinds of grids, including a square and a non-square form. The participants would have to remember five images which were displayed on a grid. They would have to finish 6 trials and then they were asked to answer the questionnaire. The results indicated that a factor of image types (human and object images) did not affect the number of recalled pictures on any type of grid forms. However, the results showed that a factor of different grid forms did affect the number of recalled pictures. The participants could recall more pictures displayed on the square grids than displayed on the non-square grids significantly. Interestingly, in the further analysis of a grid size of between a 4x4 square and a 5x5 square form, there was no effect of a grid-size factor on the number of recalled pictures.

Article Details

Section
บทความวิจัย