การจำแนกผู้เข้ารับการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบความยาวแปรผัน

Main Article Content

ปิยนุช เจริญมูล
ปรวัฒน์ วิสูตรศักดิ์
อนิราช มิ่งขวัญ

Abstract

งานวิจัยนี้มุ่งเน้นด้านการพัฒนาเพื่อสร้างระบบ การจำแนกผู้เข้ารับการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบความยาว แปรผันตามกรอบแนวคิดการพัฒนาวิธีการทดสอบแบบ ปรับเปลี่ยนได้ด้วยคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถลดระยะเวลาใน การทำแบบทดสอบได้จริง โดยผู้เข้ารับการทดสอบไม่ต้อง ทำแบบทดสอบครบตามความยาวแบบทดสอบเพื่อจัดกลุ่ม ผู้เข้ารับการทดสอบออกเป็นกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อน ด้วยข้อสอบมาตรฐานปี 2551 วิชาวิทยาศาสตร์สำหรับ นักเรียนช่วงชั้นที่ 3 จำนวน 140 คน พบว่าระบบที่ใช้ทดสอบ มีประสิทธิภาพและมีความยืดหยุ่นมากกว่าการทดสอบแบบ ดั้งเดิมมีการใช้จำนวนข้อสอบเฉลี่ยเพียงร้อยละ 85.16 จากความยาวแบบทดสอบ ซึ่งพบว่าใช้จำนวนข้อสอบเฉลี่ย น้อยกว่าการทดสอบแบบดั้งเดิม 14.84 เปอร์เซนต์ จากการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อระบบโดยผู้เข้ารับ การทดสอบ พบว่ามีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับดี เท่ากับ 4.28 สามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาระดับ ความรู้ของผู้เข้ารับการทดสอบกลุ่มอ่อนให้มีระดับผล การเรียนที่ดีขึ้นโดยอาจารย์ผู้สอนอีกทั้งยังเป็นการส่งเสริม ให้ผู้เข้ารับการทดสอบมีเจตคติที่ดีในการสอบ

 

The Classification Examinee by Using Variable-Length with Item Selection Testing

The study of the item selection for The Classification Examinee by Using Variable - Length with Item Selection Testing aims to assess the level of knowledge of different examinees to assign the most appropriate item according to their level. The examinees doesn’t test the full length test. To reduce the duration of the testing. For until 2 groups of the examinees are classified (good and poor). Science standard test in 2008 for lower secondary students was used as a tool. A sample group of 140 people. It was found that the testing system is more efficient and flexible than the classical testing. The examinees are used average number of tests that 85.16 percent. When comparing the test length of system with the classical testing, a number of actual items were used fewer 14.84 percent. The Satisfactory assessment of the system by the sample group is in a good level with 4.28 of mean value. The result can be applied not only to classify student groups for emphasizing the development of the examinees’ ability who are in “poor” group to get better item result by the teacher and helping students to have better attitudes with testing.

Article Details

Section
บทความวิจัย