การดูแลให้นมทางสายยางในทารกเกิดก่อนกำหนด

ผู้แต่ง

  • มณีรัตน์ หม้ายพิมาย คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

คำสำคัญ:

การดูแล, การให้อาหารทางสายยาง, ทารกเกิดก่อนกำหนด

บทคัดย่อ

          ทารกเกิดก่อนกำหนดส่วนใหญ่ การประสานงานของการดูด การกลืน และการหายใจยังไม่สัมพันธ์กันเนื่องจากระบบประสาทยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ ทำให้เกิดปัญหาในการดูดนมด้วยตนเอง การให้นมทางสายยางเป็นวิธีการช่วยเหลือที่ทำให้ทารกเกิดก่อนกำหนดได้รับสารอาหารเพียงพอต่อความต้องการสารอาหารของร่างกาย และเป็นกิจกรรมการพยาบาลที่พบได้บ่อยในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด หากปฏิบัติไม่ถูกต้อง หรือไม่ให้ความสำคัญของการปฏิบัติในแต่ละขั้นตอน ทารกเกิดก่อนกำหนดอาจมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ ที่พบได้บ่อย คือ ภาวะปอดอักเสบจากการสูดสำลัก ดังนั้น พยาบาลผู้ดูแล จึงจำเป็นต้องมีความรู้ ทักษะ และให้ความสำคัญของการให้นมทางสายยางในทารกเกิดก่อนกำหนดในทุกขั้นตอน เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เกิดความปลอดภัยในการดูแลให้นมทางสายยางในทารกเกิดก่อนกำหนด นำไปสู่ผลลัพธ์ในการดูแลให้การพยาบาลที่มีคุณภาพ และลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล

References

1. เกรียงศักดิ์ จีระแพทย์. (2550). Breast feeding practice in premature infant. ใน สุนทร ฮ้อเผ่าพันธุ์ (บรรณาธิการ), Neonatology 2007 (หน้า 12-23). กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

2. เต็มดวง บุญเปี่ยมศักดิ์. (2558). การให้อาหารทางสายยาง (Enteral tube feeding). ใน วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย ภาควิชาการพยาบาลเด็กและการผดุงครรภ์ (บรรณาธิการ), หัตถการเบื้องต้นทางการพยาบาลเด็ก (หน้า 85- 96). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

3. นฤมล ธีระรังสิกุล. (2545). การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด. ใน นฤมล ธีระรังสิกุล (บรรณาธิการ), ปัญหาที่พบบ่อยในทารกที่คลอดก่อนกำหนด (หน้า 35-74). กรุงเทพฯ: พี เพลส.

4. พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม. (2559). การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงสูง (Breastfeeding in high-risk infants). ใน วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์ สมสิริ รุ่งอมรรัตน์ และสุดาภรณ์ พยัคฆเรือง (บรรณาธิการ), การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงสูง (หน้า 78-96). กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

5. มณีรัตน์ หม้ายพิมาย. (2562). การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านการรับประทานอาหาร (Nursing for nutrition needs). ใน สิริรัตน์ ฉัตรชัยสุชา มธุสร ปลาโพธิ์ และต้องตา ขันธวิธิ (บรรณาธิการ), หลักการและเทคนิคการพยาบาล (Principles and techniques in nursing) (หน้า 135-143). นครราชสีมา: สมบูรณ์การพิมพ์.

6. วรมินทร์ เหรียญสุวรรณ. (2560). Enteral nutrition indications and contraindication and route access. ใน ส่งศรี แก้วถนอม บุชชา พราหมณสุทธิ์ อรวรรณ พิชิตไชยพิทักษ์ สิริกานต์ เตชะวณิช และอุปถัมภ์ ศุภสินธุ์ (บรรณาธิการ), พยาบาลโภชนบำบัด Nutrition support nurse (2) (หน้า 135-154). กรุงเทพฯ: กรุงเทพเวชสาร.

7. สุพร ตรีพงษ์กรุณา. (2549). การให้อาหารทางสายและการดูแล. ใน วันดี วราวิทย์ สุพร ตรีพงษ์ กรุณา เกศรา อัศดามงคล ประพันธ์ อ่านเปรื่อง และบุษบา วิวัฒน์เวคิน (บรรณาธิการ), แนวเวชปฏิบัติโรคทางเดินอาหารในเด็ก (หน้า 470-481). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บียอนด์เอ็นเทอร์ไพรซ์.

8. หทัยชนก นิติกุล, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, นงลักษณ์ จินตนาดิลก และจันทนา พันธ์บูรณะ. (2557). ผลของการจัดท่านอนขณะและหลังให้นมทางสายให้อาหารต่อความสามารถในการรับนมในทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักตัวน้อย. วารสารสภาการพยาบาล (Thai Journal of Nursing Council), 29(4), 32-44. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/2763

9. Ameri, G., Rostami, S., Baniasadi, H., Aboli, B., & Ghorbani, F. (2018). The effect of prone position on gastric residuals in preterm infants. Journal of Pharmaceutical Research International, 22(2), 1-6.

10. Braegger, C., Decsi, T., Dias, J. A., Hartman, C., Kolacek, S., Koletzko, B., Koletzko, S., Mihatsch, W., Moreno, L., Puntis, J., Shamir, R., Szajewska, H., Turck, D., van Goudoever, J., & ESPGHAN Committee on Nutrition. (2010). Practical approach to paediatric enteral nutrition: A comment by the ESPGHAN committee on nutrition. Journal of pediatric gastroenterology and nutrition, 51(1), 110-122.

11. Brune, K. D., & Donn, S. M. (2018). Enteral feeding of the preterm infant. NeoReviews, 19, e645-e653.

12. Cooke, R. J., & Embleton, N. D. (2000). Feeding issues in preterm infants. Archives of disease in childhood. Fetal and neonatal edition, 83(3), F215-F218.

13. Dodrill, P. (2011). Feeding Difficulties in Preterm Infants. ICAN Infant Child & Adolescent Nutrition, 3(6), 324-331.

14. Dutta, S., Singh, B., Chessell, L., Wilson, J., Janes, M., McDonald, K., Shahid, S., Gardner, V. A., Hjartarson, A., Purcha, M., Watson, J., de Boer, C., Gaal, B., & Fusch, C. (2015). Guidelines for feeding very low birth weight infants. Nutrients, 7(1), 423-442.

15. Groh-Wargo, S., & Sapsford, A. (2009). Enteral nutrition support of the preterm infant in the neonatal intensive care unit. Nutrition in clinical practice: official publication of the American Society for Parenteral and Enteral Nutrition, 24(3), 363-376.

16. Kültürsay, N., Bilgen, H., & Türkyılmaz, C. (2018). Turkish neonatal society guideline on enteral feeding of the preterm infant. Turkish Archives of Pediatrics/Türk Pediatri Arşivi, 53, S109-S118.

17. Mora, J., Punthmatharith, B., & Wattanasit, P. (2017). Effect of positioning on gastric residual volume in preterm infants. Songklanagarind Journal of Nursing, 37(4), 35-46. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/ index.php/nur-psu/article/view/ 107742

18. Örs, R. (2013). The practical aspects of enteral nutrition in preterm infants. Journal of pediatric and neonatal Individualized medication, 2(1), 35-40.

19. Parker, L. A., Weaver, M., Murgas Torrazza, R. J., Shuster, J., Li, N., Krueger, C., & Neu, J. (2019). Effect of gastric residual evaluation on enteral intake in extremely preterm infants: A randomized clinical trial. JAMA pediatrics, 173(6), 534-543.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-25

How to Cite

หม้ายพิมาย ม. (2021). การดูแลให้นมทางสายยางในทารกเกิดก่อนกำหนด. วารสารมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล, 34(1), 1–9. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/vujournal/article/view/244653

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ