Formulation Development of Extrusion - Compound from PP Scraps and Waste

Main Article Content

ชวลิต แสงสวัสดิ์
วีรศักดิ์ หมู่เจริญ
ชัชวาล สุรัสวดี
ทินกร วรกุลชัย

Abstract

การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาสูตรคอมเปาสำหรับกระบวนการผลิตสายรัดกล่องสินค้าจากเศษพอลิพรอพิลีนที่เหลือจากสายงานผลิตประเภทอัดรีด (Extrusion) งานเริ่มต้นจากการวัดดัชนีการไหล (MFI) ของพอลิเมอร์ การวัดสมบัติทางความร้อนของพอลิเมอร์ด้วยเทคนิค FT-IR  การทดสอบหาค่าการต้านทานแรงดึงยึด การวัดหาค่าความแข็งแบบรอคเวล และปิดท้ายด้วยการวัดหาค่าการต้านทานต่อการขีดข่วน สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้สถิติร้อยละ , ค่าเฉลี่ย และเทคนิคการวิเคราะห์ค่าแปรปรวน แบบจำแนกทางเดียว (One-Way-Anova) ที่นัยสำคัญ 0.05 ซึ่งพบว่าเศษพลาสติกพอลิพรอพิลีนที่เหลือจากกระบวนการผลิตถุงปุ๋ยในอุตสาหกรรมสิ่งทอ เมื่อผ่านกระบวนการหลอมตัดเม็ดหนึ่งครั้งผสมด้วยสารหล่อลื่นร้อยละ 0.05 นำมาทำเป็นคอมเปาด์จะมีค่าดัชนีการไหลใกล้เคียงกับเม็ดพลาสติกใหม่ที่ใช้ผลิตสายรัดกล่องสินค้า และเมื่อนำมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์แล้วพบว่ามีสมบัติทางกลใกล้เคียงกับสายรัดกล่องสินค้าพอลิพรอพิลีนมาตรฐานที่มีจำหน่ายอยู่ทั่วไปทั้งในและต่างประเทศ

Article Details

How to Cite
แสงสวัสดิ์ ช. ., หมู่เจริญ ว. ., สุรัสวดี ช. ., & วรกุลชัย ท. . (2003). Formulation Development of Extrusion - Compound from PP Scraps and Waste. Frontiers in Engineering Innovation Research, 4, 27–38. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jermutt/article/view/242335
Section
Research Articles

References

ชวลิต แสงสวัสดิ์ "กระบวนการทางวิศวกรรมพลาสติก" คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, พ.ศ. 2540.

ปิยวรรณ สรัญชนาจิรสกุล, " การวิเคราะห์สมบัติทางความร้อนของโพลิเมอร์ของวัสดุด้วย DSC ",เทคโนโลยีวัสดุ, ฉบับที่ 9, ประจำเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2540, หน้าที่ 78-81.

แม้น อมรสิทธิ์, อมร เพชรสม, "หลักการและ เทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ", ห้างหุ้นส่วน จำกัด โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, ประเทศไทย, 2534,หน้า 139,182.

"Designing With Plastic,The Fundamentals",Engineering Plastics Division, Hoechst Celanese Corporation, USA, 1989, pp.2-3.

F. Hensen, G. Stausberg, "Plastics Extrusion Technology 2"d ed.", Hanser Publishers,New York, 1997, pp. 320-323,325,625.

J. Brandrup, M. Bittner, G. menges,W. Michaeli, "Recycling and Recovery of Plastics", Hanser Publishers, Germany, 1996,pp. 20-31,599- 600.

JIS Z 1527,"Polypropylene Band", Japanese Standards Association Handbook(Plastics), Japan, 1989, pp. 2211-2212.

L.E.Nielsen, R.F. Landel "Mechanical Properties of Polymers and Composites",2"d ed., Marcel Dekker Inc., USA, 1994,pp. 6,90, 253, 255,285, 286,310, 315,361-362.

L. Incarnato, P. Scarfato, and D. Acierno,"Rheological and Mechanical Properties of Recycled Polypropylene", Polymer Engineering and Science, Vol. 39 No. 4, April 1999,pp. 749-755.

R. Gachter and H. Muller, "Plastics Additives Handbook", Hanser Publishers,Germany,1985, pp. 21-22.

S.R. Sandler, W. Karo, J. Bonesteel, E.M. Pearce,"Polymer Synthesis and Characterization,A Laboratory Manual", Academic Press Limited, USA, 1996, pp. 98-107.

T. Whelan and D. Dunning, "The Dynisco Extrusion Processors Hand Book", Dynisco Inc., England, 1988, pp. 153-154,157.

W.F. Smith, "Principles of Materials Science and Engineering", 3 rd ed., McGraw-Hill Inc., USA, 1996, pp. 351, 365-366.