การวิเคราะห์ความถี่และแนวโน้มของฝนสูงสุดในจังหวัดแม่ฮ่องสอน
Main Article Content
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความถี่และแนวโน้มของปริมาณฝนสูงสุดในรอบปีการเกิดต่างๆในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นข้อมูลสำหรับประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยจากอุทรภัยและแผ่นดินถล่มเนื่องจากฝนสูงสุดโดยทำการศึกษาลักษณะภูมิประเทศและสภาพการใช้พื้นที่ รวบรวมข้อมูลน้ำฝนวิเคราะห์ความถี่และแนวโน้มของฝนสูงสุดตามวิธีกัมเบลนำข้อมูลที่ได้มาประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยจากการเกิดฝนสูงสุด พบว่าจังหวัดแม่ฮ่องสอนนี้พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา เมื่อปริมาณฝนสูงสุด 115 มิลลิเมตร โดยประมาณจะอัตราการไหลหลากของน้ำป่าอย่างรุนแรงเนื่องจากพื้นที่มีความลาดชันมาก บริเวณอำเภอปาย และการเกิดดินถล่มส่วนใหญ่เป็นผลมาจากปริมาณน้ำฝนสูงสุดในรอบการเกิดซ้ำที่ 100 ปี ซึ่งวงจรที่ปรากฏให้เห็นโดยส่วนมากจะเกิดในรอบ 2-3 และ 5-6 ปี
Article Details
The manuscript, information, content, picture and so forth which were published on Journal of Engineering, RMUTT has been a copyright of this journal only. There is not allow anyone or any organize to duplicate all content or some document for unethical publication.
References
ชลประทาน.กรม, 2539. กองถุกกวิทยา, การวิเคราะห์ปริมาณน้ำนองสูงสุดด้วยหลักความถี่การเกิด,กรุงเทพฯ.
สุดารัตน์ กำปลิว, 2542. ขนาดและความถี่ของน้ำหลากในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำบัณฑิตวิกขาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม. กระทรวง, 2541.สำนักนโยบายและวางแผนสิ่งแวดล้อม. รายงาน
ฉบับสุดท้ายโครงการศึกษาและวิจัยเพื่อกำหนดพื้นที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดอุทกภัย และภัยธรรมชาติในเขตลุ่มน้ำภาคเหนือ, กรุงเทพๆ.
อมเรศบกสุวรรณ, 2546. สภาพความแห้งแล้งในลุ่มน้ำยม.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภากวิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ บัณฑิตวิทยาลัย จพาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ.
วิโรจน์ ชัยธรรม, 2536. อุทกวิทยา.มหาวิทยาลัยขอนเก่น,ขอนเเก่น.
วีรพล เต้มสมบัติ, 2528. อุทกวิทยาประยุกต. ฟิสิกส์เซนเตอร์การพิมพ์, กรุงเทพฯ.
CHOW, V.T., 1964. Hand book of Applied Hydrology.New York : McGraw-Hill.
Yejevich, V., 1997. Probability and Statistics in Hydrology.2"d Printing. Michigan : LithoCrafters.