แนวทางการจัดการอาชีวศึกษาในประเทศไทย: การสร้างเจตคติใหม่และค่านิยมเพื่อตอบสนองต่อตลาดแรงงานสากล
คำสำคัญ:
การจัดการอาชีวศึกษา, ทุนมนุษย์, เจตคติและค่านิยม, ตลาดแรงงานสากลบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสะท้อนแง่มุมของอาชีวศึกษาที่ถูกหล่อหลอมภาพลักษณ์ทางสังคม จนเป็นสาเหตุของการเลือกศึกษาต่อในสายอาชีพน้อยกว่าสายสามัญ ซึ่งผลกระทบนี้นำไปสู่การผลิตแรงงานทักษะที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของอุตสาหกรรม ประกอบกับความพร้อมของสถาบันการอาชีวศึกษาทั้งทางด้านหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และเทคโนโลยียังไม่สอดคล้องกับการปรับตัวของอุตสาหกรรม จนทำให้เกิดเป็นช่องว่างทางทักษะระหว่างแรงงานเก่ากับแรงงานใหม่ ด้วยเหตุนี้วิธีการพัฒนาอาชีวศึกษาสู่สากล โดยเริ่มต้นจากการปลูกฝังเจตคติใหม่ในอาชีวศึกษา และการสร้างค่านิยมที่ดีในสังคมเพื่อให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องตระหนักถึงความสำคัญของกำลังคนอาชีวศึกษาที่มีบทบาทต่อภาคอุตสาหกรรมของประเทศ ดังนั้น เมื่อมองกลุ่มนักเรียนอาชีวศึกษาเป็นทุนมนุษย์ที่พร้อมผลักดันระบบเศรษฐกิจผ่านกลไกความพยายามทั้งในสังคม สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานประกอบการ จะทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนทิศทางการบริหารจัดการกำลังคนทักษะอย่างเป็นระบบเพื่อให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางและก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลง
References
Corce, G., & Ghignoni, E. (2012). Demand and Supply of Skilled Labour and Overeducation in Europe: A Country-level Analysis. Comparative Economic Studies, 54(2), 1-24.
Hassan, A., Dutta, P. K., Gupta, S., Mattar, E., & Singh, S. (2024). Emerging Technologies in Digital Manufacturing and Smart Factories. Hershey PA: IGI Global.
พัชรพร ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ และนันทนิตย์ ทองศรี. (2561). หุ่นยนต์ในภาคอุตสาหกรรม: กระแสใหม่ที่แรงงานต้องกังวลจริงหรือ. กรุงเทพมหานคร: ธนาคารแห่งประเทศไทย.
Peprah, W. K., & Anowuo, I. (2019). Human Capital Development and Organizational Performance: A Conceptual Review. International Journal of Innovative Research and Development, 8(1), 49-54.
Orlova, E. V. (2021). Design of Personal Trajectories for Employees’ Professional Development in the Knowledge Society under Industry 5.0. Social Sciences, 10(11), 1-29.
Al-Asfour, A., Rajasekar, J., & Mashrafi, A. A. (2020). Fostering Organisational Dynamic by Promoting Creativity of Employees in the Public Sector. International Journal of Innovation, Creativity and Change, 12(7), 150-172.
Kiran, V. S., Shanmugam, V., Raju, R. K., & Kanagasabapathy, J. R. (2022). Impact of Human Capital Management on Organizational Performance with the Mediation Effect of Human Resource Analytics. International Journal of Professional Business Review, 7(3), 1-27.
Boroujerdi, R. Y., Siadat, A., Hoveida, R., & Khani, S. (2014). The Study of the Nature of Human Capital Management and Its Strategic Role in Achieving of Competitive Advantage for the Organization. International Journal of Scientific and Research Publications, 4(5), 1-4.
Nelson, R. E. (2004). The Strength of Strong Ties: Social Networks and Intergroup Conflict in Organizations. Academy of Management Journal, 32(2), 377-401.
ณัฐสิฏ รักษ์เกียรติวงศ์. (2558). การปฏิรูปอาชีวศึกษาของประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ).
สุภาพร ศรีนางแย้ม, องอาจ นัยพัฒน์, และทวิกา ตั้งประภา. (2565). การประเมินความต้องการจำเป็นในการเสริมสร้างนิสัยอุตสาหกรรมของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงระบทวิภาคี เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7(7), 315-328.
Gungor, G. (2020). Problems and Solution Suggestions Encountered in Vocational Skill Training in Vocational High School: Teachers’ Views. European Journal of Education Studies, 7(4), 233-253.
CEDEFOP. (2011). The Benefits of Vocational Education and Training. Luxembourg: Publications Office of the European Union.
Petty, R., & Brinol, P. (2014). Emotion and Persuasion: Cognitive and Meta-Cognitive Processes Impact Attitudes. Cognition and Emotion, 29(1), 1-26.
Hovland, C. I., & Janis, I. L. (1959). Personality and persuasibility. New Haven, CT: Yale University Press.
Chalapati, N., & Chalapati, S. (2020). Building a skilled workforce: Public discourses on vocational education in Thailand. International Journal for Research in Vocational Education and Training, 7(1), 67-90.
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (2559). ค่านิยม และสภาพแวดล้อมที่พึงประสงค์ของสังคมไทยในสายตาเยาวชน. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2555). นโยบาย เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ การผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาสู่สากล พ.ศ. 2555-2569. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). โครงการศึกษาเพื่อทบทวนความต้องการกำลังคนเพื่อใช้วางแผนการผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค.
เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว. (2561). [ออนไลน์] ช่องว่างทักษะกับนัยยะที่มีต่อการพัฒนากำลังคนของประเทศไทย. [สืบค้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2567]. จาก http://www.econ.tu.ac.th/symposium40/paper/003_Symposium40.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2557). แนวทางปฏิบัติการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ. 2557. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี.
Bratianu, C. (2015). Organizational Learning and the Learning Organization. Hershey: IGI Global.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.