การพัฒนาแบบจำลองระบบโซ่อุปทานดิจิทัลเพื่อการจัดการศึกษาตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • อรรถพล จันทร์สมุด สำนักงานคณบดี คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

คำสำคัญ:

การพัฒนาแบบจำลอง, ระบบโซ่อุปทานดิจิทัล, การจัดการศึกษาตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษา, ประเทศไทย

บทคัดย่อ

การพัฒนาแบบจำลองระบบโซ่อุปทานดิจิทัลเพื่อการจัดการศึกษาตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาในประเทศไทยประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้ส่งมอบ ผู้ผลิต ผู้ให้บริการ นักศึกษาเป็นเลิศด้านวิชาชีพ ลูกค้า ความพึงพอใจ การตอบสนอง วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) พัฒนาแบบจำลองระบบโซ่อุปทานดิจิทัลเพื่อการจัดการศึกษาตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาในประเทศไทย และ 2) ประเมินความเหมาะสมแบบจำลองระบบโซ่อุปทานดิจิทัลเพื่อการจัดการศึกษาตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านโซ่อุปทาน จำนวน 5 คน และผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร จำนวน 5 คน รวมผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวัดประเมินผลแบบจำลองใช้วิธีทดสอบ Black Box Testing 

ผลการประเมินผู้เชี่ยวชาญยอมรับแบบจำลองระบบโซ่อุปทานดิจิทัลเพื่อการจัดการศึกษาตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาในประเทศไทยมีความหมาะสมระดับมาก แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาแบบจำลองระบบโซ่อุปทานดิจิทัลเพื่อการจัดการศึกษาตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาในประเทศไทยประยุกต์ติดตั้งการทำงานได้จริง

References

สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. (2558). [ออนไลน์]. อาชีวะรับ10นโยบาย. [สืบค้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2566]. จาก https://www.vec.go.th/ข่าว/บริหารจัดการข่าว/รายละเอียดข่าว/tabid/103/ArticleId/3197/language/th-TH/-10.aspx.

สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. (2566). [ออนไลน์]. ประวัติความเป็นมา. [สืบค้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2566]. จาก https://www.vec.go.th/th-th/เกี่ยวกับสอศ/ประวัติความเป็นมา.aspx.

อรรถพล จันทร์สมุด. (2563). แบบจำลองระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการงานวิจัยในโซ่อุปทานสำหรับสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิชาการที่ประชุมสภาข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้าง มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปขมท.), 9(2), 112-121.

อรรถพล จันทร์สมุด. (2559). ระบบสารสนเทศการบริหารห่วงโซ่อุปทานเพื่อการจัดการงานวิจัยในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36(2), 210-221.

ประคอง กรรณสูต. (2528). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือ ดร. ศรีสง่า.

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. (2561). [ออนไลน์]. การสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการที่มีต่อการบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระนองประจำปีงบประมาณ พ..ศ. 2561. [สืบค้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2566]. จาก http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER13/DRAWER007/GENERAL/DATA0000/00000286.PDF.

สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. (2566). [ออนไลน์]. คู่มือการใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556. [สืบค้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2566]. จาก https://bsq.vec.go.th/th-th/หลักสูตร/คู่มือหลักสูตร.aspx.

สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. (2566). [ออนไลน์]. คู่มือการใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557. [สืบค้นเมื่อวันที่17 พฤษภาคม 2566]. จาก https://bsq.vec.go.th/th-th/หลักสูตร/คู่มือหลักสูตร.aspx.

Kaewngam, A., Chatwattana, P., & Piriyasurawong, P. (2019). [online]. Supply Chain Management Model in Digital Quality Assurance for ASEAN Quality Assurance Network (AUN-QA). [Retrieved October 4, 2021]. from https://files.eric.ed.gov/fulltext/EJ1228330.pdf.

Chansamut, A., & Piriyasurawong, P. (2014). Conceptual Framework of Supply Chain Management - Information System for Curriculum Management Based on Thailand Qualifications Framework for Higher Education. International Journal of Managing Value and Supply Chains (IJMVSC), 5(4), 33-45.

Chansamut, A. (2021). [online]. Information System Model for Educational Management in Supply Chain for Thai Higher Education Institutions. [Retrieved October 4, 2021]. from http://www.riejournal.com/article_133791_83f64ffdee839868de07381d20410eab.pdf.

Chansamut, A. (2021). [online]. An Information System Model for Educational Management in Supply Chain According to Career standards on Thailand Qualifications Framework for Vocational Education. [Retrieved October 4, 2021]. from http://ojs.excelingtech.co.uk/index.php/IJSCM/article/view/5882/3035.

Chansamut, A. (2021). [online]. Synthesis of Conceptual Framework for Supply Chain Business Intelligence for Educational Management in Thai Higher Education. [Retrieved October 31, 2021]. from https://ojs.excelingtech.co.uk/index.php/IJSCM/article/view/5912/3041.

Chansamut, A. (2021). [online]. Supply Chain Operation Model in Digital for Curriculum Management Based on Thailand Qualifications Framework for Higher Education. [Retrieved October 4, 2021]. from https://ojs.excelingtech.co.uk/index.php/IJSCM/article/view/5893/3038.

Habib, M., & Jungthirapanich, C. (2010). International Supply Chain Management: Integrated Educational Supply Chain Management (IESCM) Model for the Universities. Sixth AIMS International Conference on Management 28-31 December 2008.

Habib, M., & Jungthirapanich, C. (2009). Research Framework of Education Supply Chain, Research Supply Chain and Educational Management for the Universities. International Journal of the Computer, the Internet and Management, 17(SP1), 24.

Habib, M., & Jungthirapanich, C. (2010). An Empirical Study of Educational Supply Chain Management for the Universities. Proceedings of the 2010 International Conference on Industrial Engineering and Operations Management. Dhaka, Bangladesh 9-10 January 2010, 292-298.

Habib, M., & Jungthirapanich, C. (2008). Integrated Education Supply Chain Management (IESCM) Model for the Universities. Sixth AIMS International Conference on Management 28-31 December 2008.

Habib, M. (2009). [online]. An Empirical Research of ITESECM (Integrated Tertiary Educational Supply Chain Management) Model. [Retrieved May 6, 2020]. from https://www.intechopen.com/chapters/11653.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-12-2023