ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
คำสำคัญ:
คุณภาพรายงานทางการเงิน, เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ การศึกษาครั้งนี้เก็บข้อมูลจาก วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยส่งแบบสอบถามไปยังผู้ประกอบการ มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 424 ฉบับ การศึกษาครั้งนี้ทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่และค่าร้อยละ เพื่อทดสอบสมมติฐานด้วยวิธีการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพรายงานทางการเงิน คือ ปัจจัยของผู้บริหารในการสนับสนุนความถูกต้องของรายงานทางการเงิน การส่งเสริมธรรมาภิบาล การจัดการทรัพยากรมนุษย์ สร้างความยอมรับจากผู้มีส่วนได้เสีย สามารถร่วมพยากรคุณภาพรายงานทางการเงิน R2 ได้ร้อยละ 41.50 และ Adjusted R2 ได้ร้อยละ 23.10
References
[2] สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม. (2560). รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ปี 2559. สำนักข้อมูลและวิจัย สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.
[3] จตุร์วิทย์ เขียวชะอุ่ม. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างความน่าเชื่อถือของงบการเงิน ทัศนคติต่อความเสี่ยงพฤติกรรมการค้นหาข้อมูลทางการเงินและต้นทุนการกู้ยืม. ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[4] นิตยา วงศ์อภินันท์วัฒนา. (2558). คุณภาพของรายงานการเงินบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี. ปีที่ 11 ฉบับที่ 32 ธันวาคม 2558. 17-33.
[5] พิมพ์พร อังสกุลวงศ์. (2553). การศึกษาความสัมพันธ์ของความคิดเห็นที่มีต่อระบบการจ่ายค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบัญชีในองค์กร. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[6] นฤนาถ ศราภัยวานิช. (2556). คุณภาพงบการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมใน ประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เมษายน - กันยายน 2556. 21-22.
[7] พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 466)
พ.ศ. 2550.
[8] Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. 3d ed. New York : John Wiley and Sons Inc.
[9] Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York : Harper Collins Publishers. (pp.202-204)
[10] Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis (6 ed.). Upper Saddle River. New Jersey: Prentice Hall.
[11] กัลย์ธีรา สุทธิญาณวิมล. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่องบการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในมุมมองของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ในเขตภาคเหนือ. การค้นคว้าแบบอิสระบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
[12] วิมพ์วิภา วงศ์สูงเนิน. (2560). ผลกระทบของหลักธรรมาภิบาลต่อคุณภาพรายงานทางการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
[13] อุไรพร ดิเริกศรี. (2554). ผลกระทบของนโยบายการกำกับดูแลองค์กรที่ดีที่มีต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิตมหาสารคาม. มหาวิทยาลัยสารคาม.
[14] จันทร์นิภา ประหยัด. (2556). ผลกระทบของระบบการบันทึกบัญชีที่ดีที่มีต่อคุณภาพรายงานทางการเงินของเทศบาลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.