การสร้างชุดสาธิตการควบคุมอุณหภูมิด้วยพีไอดีคอนโทรลเลอร์ เพื่อใช้ในวิชาการควบคุมกระบวนการอัตโนมัติ
คำสำคัญ:
ชุดสาธิต, พีไอดีคอนโทรลเลอร์, กระบวนการอัตโนมัติบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างการใช้วิธีการเรียนปกติกับการเรียนโดยใช้ชุดสาธิตการควบคุมอุณหภูมิด้วยพีไอดีคอนโทรลเลอร์ เพื่อใช้ในวิชาการควบคุมกระบวนการอัตโนมัติ ประชากร ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า ซึ่งลงทะเบียนเรียนวิชาการควบคุมกระบวนการอัตโนมัติ ในปีการศึกษา 2557 ของวิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1 กลุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจงกับนักศึกษาที่เรียนวิชาดังกล่าวจำนวน 6 คู่ (12 คน)
ผลการวิจัย พบว่าผลสัมฤทธิ์ในการเรียน ระหว่างการสอนแบบปกติกับการใช้ชุดสาธิตการควบคุมอุณหภูมิด้วยพีไอดีคอนโทรลเลอร์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95
References
[2] สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาแห่งชาติ. (2552). รายงานการวิจัย การผลิตกำลังคนด้านอาชีวศึกษา และ เทคโนโลยีตามความต้องการของประเทศ : กรณีศึกษาประเภทอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร : สกศ.
[3] The Project Analysis & Monitoring Co. Ltd. (PAMCO). (1980). Project Planning and Management series. Work Breakdown Structure. 5.
[4] Deutsche Gesellschaft für Internationale Zusammenarbeit (GIZ) GmbH. (2011). Structures and functions of Competency-based Education and Training (CBET) : a comparative perspective. 2nd ed., GIZ. Mannheim, Germany. 6.
[5] โสภิตา สุวุฒโฑ, ธีรพงษ์ วิริยานนท์ และ กานดา พูนลาภทวี. (2557). การพัฒนาโมดูลการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะตามแนวทางมาตรฐานอาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์ ด้านงานออกแบบสิ่งพิมพ์. วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา ปีที่ 26 ฉบับที่ 89. 49-56.
[6] พฤฒิพงษ์ เล็กศิริรัตน์. (2531). การออกแบบสื่อการสอน. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพมหานคร : โอเดี่ยนสโตร์.
[7] Employment and Training Administration United States Department of Labor. (2014). [ออนไลน์]. Automation Competency Model. [สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557]. จาก www.doleta.gov.
[8] Ogata, Katsuhiko. (2010). Modern Control Engineering. 5th. Ed., New York. Prentice-Hall.