อัลกอริทึมแห่งความสัมพันธ์ระหว่างการไร้ตัวตนกับอาชญากรรมไซเบอร์

Main Article Content

ดร. ปรเมศว์ กุมารบุญ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มุ่งหมายเพื่อสร้างอัลกอริทึมให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลเพื่อพยากรณ์การเกิดอาชญากรรมไซเบอร์ และโอกาสก่อการร้าย จากความสัมพันธ์ระหว่างการไร้ตัวตนกับอาชญากรรมไซเบอร์ที่วิเคราะห์ด้วยทฤษฎีเกมเป็นวิธีวิจัยแบบผสมผสานเพื่อเข้าใจกระบวนการตัดสินใจของอาชญากรไซเบอร์โดยทฤษฎีการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลและใช้ทฤษฎีเกมเป็นเครื่องมือในการอธิบายความสัมพันธ์ด้วย ต้นไม้การตัดสินใจ ตารางผลตอบแทน และสมการผลตอบแทน ผลการวิจัยได้พิสูจน์ว่าการไร้ตัวตนและการเกิดอาชญากรรมไซเบอร์มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน

Article Details

How to Cite
[1]
กุมารบุญ ป., “อัลกอริทึมแห่งความสัมพันธ์ระหว่างการไร้ตัวตนกับอาชญากรรมไซเบอร์”, Crma. J., ปี 21, ฉบับที่ 1, น. 28–44, ธ.ค. 2023.
บท
บทความวิจัย

References

ไชยันต์ ไชยพร, "Jon elster & Rational choice theory", สำนักพิมพ์ way of book, 2560.

Cohen, Lawrence E., Felson, Marcus, "Social Change and Crime Rate Trends: A Routine Activity Approach", American Sociological Review, p. 44, 1979.

Erich Prisner, "Game Theory through Examples", The Mathematical Association of America, 2014.

Larry E. Daniel, Lars E. Daniel, ผู้แปล สุนีย์ สกาวรัตน์, "การตรวจพิสูจน์หลักฐานดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมาย", บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน), 2559.

M. E. Kabay, "A Brief History of Computer Crime: An Introduction for Students", School of Graduate Studies, Norwich University, 2008.

ITU Development, "Understanding cybercrime: phenomena, challenges and legal response", The ITU publication, 2012.

MMC Cyber handbook, "Perspectives on the next wave of cyber, Global Risk and Digital Marsh", McLennan Companies, 2018.