ว๊อยซ์โกสต์การ์ด: เกมป้องกันผีด้วยเสียงในการจัดส่งพัสดุ

Main Article Content

ณัฐพล คงสกุล
ธนวรรษ สืบสม
อรวรรณ เชาวลิต
เสาวลักษณ์ อร่ามพงศานุวัต
กรัญญา สิทธิสงวน

บทคัดย่อ

เกมแต่ละประเภทจะมีเป้าหมายและกฎเกณฑ์การเล่นที่แตกต่างกัน เกมสยองขวัญและเอาตัวรอด เป็นเกมประเภทหนึ่งที่นักพัฒนาเกมชาวไทยได้พัฒนาจนเป็นที่ยอมรับไปทั่วโลก อาทิ เกม Home Sweet Home ที่มีการจำลองบรรยากาศความน่ากลัวในแบบไทยๆ ที่นอกจากผู้เล่นจะต้องใช้ทักษะไหวพริบในการเอาตัวรอดแล้ว ยังสร้างความแปลกใหม่ของการเล่นเกม โดยผู้เล่นจะต้องใช้เสียงในการท่องคาถาเพื่อป้องกันผี และปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย อีกด้วย ดังนั้นงานวิจัยนี้ได้มีแนวคิดที่จะเพิ่มความสนุก ตื่นเต้น และความแปลกใหม่ให้กับเกมประเภทนี้ โดยใช้เทคโนโลยีรู้จำเสียงพูด (Voice recognition) มาเพิ่มความท้าทาย ที่ไม่ใช่เพียงแค่การท่องคาถาเอาตัวรอดจากการโจมตีของเหล่าปีศาจ  แต่ผู้เล่นจะต้องเลือกใช้เสียงที่ถูกต้องกับสถานการณ์ที่ต่างกัน  อาทิ ต้องเงียบที่สุด  ตะโกนให้ดังที่สุด หรือทำเสียงปรบมือ เพื่อที่จะให้ผ่านภารกิจที่ลี้ลับนี้ไปได้ อีกทั้งยังต้องใช้ไหวพริบในการตัดสินใจที่จะยอมเสียแต้มจากการถูกโจมตี หรือหนีเพื่อเอาชีวิตรอด อีกด้วย จากผลการทำแบบสอบถามเพื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมทดลองจำนวน 15 คน อายุระหว่าง 18 - 25 ปี พบว่าผู้เล่นยอมรับ และมีความพึงพอใจในการใช้งาน (Usability) ในด้านของ การใช้งานง่าย (Ease of use) ความสนุกสนาน (Enjoyability, playability ) และคุณภาพของภาพ (Graphic quality) อยู่ในระดับดีมาก โดยมีคะแนนความพึงพอใจโดยรวมเฉลี่ยที่ 4.33 จาก 5 คะแนน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Avuclu, E. and Koklu, M. (2022). A Voice Recognition Based Game Design for More Accurate Pronunciation of English. ntelligent Methods In Engineering Sciences 1(1): 23 – 26.

Beena, A., Penelope, M., Adam, H., Chek, T.T., Ricardo, G.O. and Kirrie, J.B. (2018). Speech-driven mobile games for speech therapy: User experiences and feasibility. International Journal of Speech-Language Pathology 20(6): 644 - 658.

Bountourakis, V., Vrysis, L. and Papanikolaou, G. (2015). Machine Learning Algorithms for Environmental Sound Recognition: Towards Soundscape Semantics. Proceedings of the Audio Mostly 2015 on Interaction With Sound. 1 - 7.

Department of Special Investigation. (2019). การศึกษาระบบรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ. Source: https://www.dsi.go.th/th/Detail/การศึกษาระบบรู้จำเสียงพูดอัตโนมัติ-The-Study-of-The-Speech-Recognition. Retrieved from 5 March 2024.

Hair, A. (2020). Apraxia World: Deploying a Mobile Game and Automatic Speech Recognition for Independent Child Speech Therapy. Doctor of Philosophy, Texas A&M University. Texas.

Kongram, P., Arampongsanuwat, S. and Sitdhisanguan, K. (2023). The Development of Ghost Hunter Games Using Speech Recognition. Journal of Science Innovation for Sustainable Development 4(2): 40 – 51.

Lin, Y-T., Wang, T-C. and Yi, Y-J. (2022). Developing a Game-Based Speech Recognition System to Facilitate Oral Training Performance for Hearing Loss Children. Innovative Technologies and Learning 3 - 12.

Longtunman. (2023). อุตสาหกรรมเกม 30,000 ล้านกำลังสร้างงาน สร้างรายได้ให้คนไทย. Source: https://www.longtunman.com/45511. Retrieved from 5 March 2024.

Mohamed, H. and Jaafar, A. (2010). Challenges in the evaluation of educational computer games. In: Information Technology (ITSim), 2010 International Symposium. IEEE. 1: 1 – 6.

Playop. (2023). เกม คืออะไร มีกี่ประเภท ประโยชน์ของการเล่่นเกมมีอะไรบ้าง. Source: https://bit.ly/PLAYOP. Retrieved from 5 March 2024.

Procci, K., Chao, A., Bohnsack, J., Olsen, T. and Bowers, C. (2012). Usability in Serious Games: A Model for Small Development Teams. Computer Technology and Application 3(4): 315 - 329.

Singh, S. and Kaur, A. (2022). Game Development using Unity Game Engine. In: 2022 3rd International Conference on Computing, Analytics and Networks (ICAN), Rajpura, Punjab, India. 1 - 6.

Undubzapp. (2023). เก่งระดับโลก!! 10 เกมฝีมือคนไทยสร้าง งานดีขัั้นเทพจนต้องทุบคีบอร์ด. Source: https://bit.ly/Undubzapp. Retrieved from 5 March 2024.

Wibawa, R., Lokacarya, A., Kurniawan, F. and Udjaja, Y. (2023). Japanese language learning game “Miryoku” using android-based speech recognizer API. Procedia Computer Science 216: 547 - 556.

Wu, Y. and Ruan, J. (2021)._ A DNN-based Real-time Speech Recognition Control Game. In: Proceedings of the 3rd International Conference on Intelligent Science and Technology (ICIST '21). Association for Computing Machinery, New York. 45 – 49.