แนวทางการควบคุมน้ำหนักสำหรับผู้สูงอายุที่มีน้ำหนักเกิน

ผู้แต่ง

  • มนัญญา คำวชิระพิทักษ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

คำสำคัญ:

ผู้สูงอายุ, การควบคุมน้ำหนัก, แนวทาง

บทคัดย่อ

ปัจจุบันแนวโน้มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนมีจำนวนเพิ่มขึ้น การรับประทานอาหารที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุเพื่อลดน้ำหนักและให้สอดคล้องกับข้อจำกัดของโรคต่างๆที่เกี่ยวข้องจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อให้ได้รับสารอาหารครบถ้วนสามารถใช้ธงโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุเป็นเครื่องมือหลัก บริโภคใ นสัดส่วนสารอาหาร คาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมัน เท่ากับ 50:20:30 ใช้แนวทางเสริมด้วยผลิตภัณฑ์กลุ่มใยอาหารมาประกอบอาหารเสริมในอาหารและเครื่องดื่ม ควบคู่กับข้อปฏิบัติโภนบัญญัติ 9 ประการ เน้นการรับประทานผัก ประเภท ก. และเนื้อสัตว์ที่ย่อยง่าย ไขมันต่ำ หรือร่วมกับการใช้อาหารแนวแดช และคาร์โบไฮเดรตที่ค่าไกลซิมิกอินเดกซ์ต่ำร่วมด้วย การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สำหรับเสริมอาหารรวมถึงส่งเสริมสุขภาพเพื่อควบคุมน้ำหนักส่งเสริมและสร้างภูมิคุ้มกันโรค เช่น โปรตีนเวย์ โปรตีนไข่ขาวผง รวมถึงส่งเสริมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายด้วยโพรไบโอติกส์พรีไบโอติกส์เพื่อเสริมในอาหารและเครื่องดื่ม เช่น ผักผง อินนูลินช่วยลดน้ำหนักสำหรับผู้สูงอายุโดยนำไปเป็นผสมลงเป็นส่วนประกอบของอาหารและเครื่องดื่มสำหรับผู้สูงอายุ

Downloads

Download data is not yet available.

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2566). สังคมผู้สูงอายุในปัจจุบันและเศรษฐกิจในประเทศไทย. สืบค้นจาก https://www.dop.go.th/th/know/15/926

กลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ สำนักโภชนาการ. (2565). รายงานประจำ ปี 2565 เฝ้าระวังทางโภชนาการ

. สำ นั ก โ ภ ช น า ก า ร ก ร ม อ น า มั ย. สืบค้นจาก https://nutrition2.anamai.moph. go.th/web-upload/6x22caac0452648c8dd1f534819ba2f16c/202303/m_magazine/ 37955/4261/file_download/13affb4dde0d884d8536cb0096eecca9.pdf

กลุ่มเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่าย กองส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ. (2564). สังคมผู้สูงอายุในปัจจุบันและเศรษฐกิจในประเทศไทย. สืบค้นจาก https://www.dop.go.th/th/know/15/926

กองแพทย์ทางเลือก. (2563). แดชไดเอท บำบัดโรคความดันโลหิตสูง. กรมการแพทย์แผนไทยและ

การแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข. บริษัท วี อินดี้ ดีไซน์ จำกัด.

เกณิกา จันชะนะกิจ. (2559). อาหารและโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ. วารสาร Mahidol R2R e-Journal. 3(2), 1-11.

ชนาธิป สันติวงศ์. (2565). DASH Diet: อาหารต้านโรคความดันโลหิตสูง. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 16(1), 101-111.

ณัฏฐพัชร ชัยปกรณ์วงศ์. (2560). กินเป็นบำบัดโรค The Nutrition Talk. บริษัท วีพลัส กรุ๊ป(ไทยแลนด์) จำกัด. กรุงเทพฯ.

ธงโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ. (2566). สืบค้นจาก https://nutrition2.anamai.moph.go.th/th/ book/download/?did=194497&id=47224&reload=,

ธนากร ก้อนทอง, รุจิรา ดวงสงค์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรม

สุขภาพของผู้สูงอายุโรคอ้วน ตำบลดงมูลเหล็ก อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารวิจัย

สาธารณสุขศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 12(3), 9-18.

ทองใหม่ ทองสุก. (2565). โภชนาการสร้างภูมิคุ้มกันโรค NCDs ผู้สูงอายุยุควิถีชีวิตใหม่. วารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์. 3(1), 92-100.

ทีปทัศน์ ชุณหสวัสดิกุล. (2566). การรักษาเบาหวานด้วยธรรมชาติบำบัด เบาหวานคืออะไร.

กองการแพทย์ทางเลือก. สืบค้นจาก https://thaicam.go.th/การรักษาเบาหวานด้วยธรร/

ปิยะนุช จงสมัคร. (2559). จุลินทรีย์ในลําไส้กับการเกิดโรคอ้วนและโรคไขมันสะสมในตับที่ไม่ได้เกิดจากแอลกอฮอล์. Thai Bull Pharm Sci. 11(2), 76-97.

พิมพ์วีรา ละลำ, อภิชาติ ใจใหม่, และ กฤตพัทธ์ ฝึกฝน. (2565). ภาวะอ้วนลงพุงในผู้สูงอายุ: ผลกระทบและบทบาทพยาบาล. วารสารวิจัยการพยาบาลและสุขภาพ. 23(2), 13-27.

ภาณุวัฒก์ ว่องตระกูลเรือง. (2565). โภชนาการในผู้สูงอายุ รับประทานอย่างไรถึง

จะดี. ศูนย์อายุรกรรม คลินิกผู้สูงอายุ. โรงพยาบาลนครธน. สืบค้นจาก https://www.nakorn thon.com /article/detail/โภชนาการในผู้สูงอายุ รับประทานอย่างไรถึงจะดี

มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์. (2566). Glycemic index หรือ ดัชนีน้ำตาล คืออะไร

สำคัญต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานอย่างไร. สืบค้นจาก https://home.maefahluang.org/ 17514357/glycemic

วสุนธรา รตโนภาส. (2565). การประเมินภาวะโภชนาการผู้สูงอายุในพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย

ราชภัฏกำแพงเพชร. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน. 8(4), 9-23.

วิชาญ มีเครือรอด. (2563). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพ ดัชนีมวลกายและระดับ ความดันโลหิต ของบุคลากรสาธารณสุขอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย. วารสารวิจัยและวิชาการสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร. 1(1), 70-85.

วินัฐ ดวงแสนจันทร์, ศิริรัตน์ ปานอุทัย, ณัฐธยาน์ สุวรรณคฤหาสน์, และ ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์.

(2565). การบริโภคคาร์โบไฮเดรตและฮีโมโกลบินเอวันซีในผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวาน

ชนิดที่ 2. พยาบาลสาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 49(3), 122-133.

ศิริพร ตันจอ, ครรชิต จุดประสงค์, ชนัญฑิตา ไชยโต, สนั่น จอกลอย. (2012). อินนูลินและ

ฟรุกโตโอลิโกแซคคาไรค์ในแก่นตะวันสายพันธุ์ต่างๆ. KKU Res. J. 17(11), 25-34.

ศรีพร รอดแก้ว, อรทัย นนทเภท,และ เรวดี เพชรศิราสัณห์. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างดัชนี

มวลกายกับความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือดในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง.

วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก. 32(2), 120-130.

ศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ. (2565). คู่มือสุขสมวัย สำหรับการดูแลผู้สูงอายุให้มีสุขภาพดี. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). สืบค้นจาก https://resourcecenter.thaihealth.or.th /files/7/Manual/คู่มือนิทรรศการ%20สุขสมวัย.pdf

สมนึก โตมะสูงเนิน. (2554). ประสิทธิผลของการส่งเสริมการบริโภคอาหารวัยผู้สูงอายุในคลินิกผู้สูงอายุ โรงพยาบาลสุรินทร์. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสระเกษ สุรินทร์บุรีรัมย์. 26(2), 309-317.

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย. (2563). ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับ

คนไทย พ.ศ. 2563. สืบค้นจาก https://www.thaidietetics.org/wp-content/uploads /2020/04/dri2563.pdf

สำนักโภชนาการ กรมอนามัย. (2564). สูงวัยกินอาหารอะไรดี ส่งเสริมสุขภาพของอวัยวะที่สำคัญ. สืบค้นจาก https://nutrition2.anamai.moph.go.th/th/book/206126

สุพรรณี พฤกษา. (2559). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้สูงอายุ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

สุวรรณา ชัยชนะ. (2562). อาหารผู้สูงอายุ. บริษัทสำนักพิมพ์แม่บ้าน. กรุงเทพฯ.

อุมาพร นิ่มตระกูล. (2560). การศึกษาวิจัยปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุตําบล

หนองหาร อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมล้านนา. 7(2), 63-70.

Anton, S., Ezzati, A., Witt, D., McLaren, C., and Via. P. (2021). The effects of intermittent

fasting regimens in middle-age and older adults: Current state of evidence. Experimental Gerontology. 156, https://doi.org/10.1016/j.exger.2021.111617

Arlappa, N., Qureshi, I. A., Ravikumar, B. P., Balakrishna, N. and Qureshi, M. A. (2016).

Arm Span is an Alternative to Standing Height for Calculation of Body Mass

Index (BMI) amongst Older Adults. International Journal of Nutrition. 2(1),

DOI 10.14302/issn.2379-7835.ijn-15-903

Ngoh, HJ, Sakinah, H. and Harsa Amylia, MS. (2012). Development of Demi-span

Equations for Predicting Height among the Malaysian Elderly Development of

Demi-span Equations for Predicting Height among the Malaysian Elderly.

Mal J Nutr. 18(2), 149 – 159.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-09-30