สถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศโดยใช้เทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด์ที่ส่งเสริมการจัดลำดับมหาวิทยาลัยโลก

Main Article Content

ศิริลักษณ์ พึ่งรอด
พินันทา ฉัตรวัฒนา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์และสังเคราะห์กรอบแนวคิดสถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศโดยใช้เทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด์ที่ส่งเสริมการจัดลำดับมหาวิทยาลัยโลก 2) ออกแบบสถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศโดยใช้เทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด์ที่ส่งเสริมการจัดลำดับมหาวิทยาลัยโลก 3) พัฒนาสถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศโดยใช้เทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด์ที่ส่งเสริมการจัดลำดับมหาวิทยาลัยโลกและ 4) ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อสถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศที่พัฒนาขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ประกอบด้วย 1) กรอบแนวคิดสถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศที่พัฒนาขึ้น 2) สถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศที่พัฒนาขึ้น และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจสถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศที่พัฒนาขึ้น ผลการวิจัย พบว่า 1) สถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศที่พัฒนาขึ้น มี 5 องค์ประกอบ (1.1) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (1.2) ข้อมูลด้านต่างประเทศ (1.3) ระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศ (1.4) ระบบประมวลผลแบบคลาวด์ภายในองค์กร และ(1.5) การจัดอันดับมหาวิทยาลัยในโลก และ 2) ผลการประเมินความเหมาะสมของสถาปัตยกรรมระบบการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมที่พัฒนาขึ้นพบว่า (2.1) ด้านองค์ประกอบโดยรวมของสถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x}= 4.60, S.D.= 0.55) (2.2) ความเหมาะสมแยกตามองค์ประกอบ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x}= 4.73, S.D.= 0.45) ข้อมูลด้านต่างประเทศ มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x}= 4.83, S.D.= 0.38) ระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x}= 4.80, S.D.= 0.42) ระบบประมวลผลแบบคลาวด์ภายในองค์กรมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x}= 4.50, S.D.= 0.56) การจัดอันดับมหาวิทยาลัยในโลก มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x}= 4.90, S.D.= 0.32) และ (2.3) ด้านการนำไปใช้งานของสถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (gif.latex?\bar{x}= 4.62, S.D.= 0.43)

Article Details

How to Cite
พึ่งรอด ศ., & ฉัตรวัฒนา พ. (2020). สถาปัตยกรรมระบบบริหารจัดการสารสนเทศด้านความสัมพันธ์ต่างประเทศโดยใช้เทคโนโลยีการประมวลผลแบบคลาวด์ที่ส่งเสริมการจัดลำดับมหาวิทยาลัยโลก. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 19(1), 122–131. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/221572
บท
บทความวิจัย

References

P Nilsook, J Jitsupa (2017) Information and Communication Technology Administration for Education. Bangkok : KMUTNB Textbook Publishing Center.

Wiwat Meesuwan. (2014). Cloud Computing for Education. Journal of education Naresuan University, 16(1), P. 149-157.

T. Sukdao. (2017). Analysis of the Media King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang with University Rankings Using the Webometrics. RMUTP Research Journal Humanities and Social Sciences., 2(1), P. 85-91.

Robert, M. R., Alan, D. & Barbara H. W., (2013). System Analysis and Design (5th ed). Hoboken: John Wiley & Sons, Inc.

SI-UK. (2017) Get to know QS World University Rankings. Retrieved August 8, 2019, from https://www.siuk-thailand.com/study-guide/qs-world-university-Rankings-introduction/

SI-UK. (2017) Get to know THE World University Rankings. Retrieved August 8, 2019, from https://www.siuk-thailand.com/study-guide/times-higher-education/

R. Jeansuti, S. Sikkhabandit, P. Tantaswong. (2018). The Information System Management Model for Educational Profession Services of the Teachers’ Council of Thailand Consistent with Thailand 4.0. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(3), P. 572-588.

A. Thasuthorn. (2018). Cultural Diplomacy : Thailand's Foreign Policy to Indochina, the Neighboring Countries. Journal of Politics and Governance, 8(3), P. 192-206.

P. Kanasutra. (1995). Statistics for Research in the Behavioral Sciences. Bangkok: Chulalongkorn University Press. 130

P. Chatwattana. (2017). The Effect of Web-based Learning System using Project-based Learning of Imagineering to Enhance Creative Construction of Multimedia Skills and Cooperative Skills. Journal of Industrial Education, 16(1), P. 192-201.

P. Thammachoto, K. Sriprasertpap, G. Boriboon, C. Boonwatthanakul. (2017). Information Systems Management Model for supporting the Learning. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 10(2), P. 79-96.

P. Makpoonpol, T.Sovajassatakul, P. Tungkunanan. (2015). Development of Information System for Student's Dormitory Admission for the Department of Student Affairs, King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang. Journal of Industrial Education, 14(2), P. 244-251.

S. Pitiyasak. (2018). Cloud Computing Policy and Personal Data Protection in the Cloud among the European Union, the United States, Australia and ASEAN : A Thailand Perspective. STOU Journal, 31(2), P. 25-43.

S. Tuntiwongwanich. (2017). Development of Web Information Technology of Faculty of Industrial Education in King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang. Journal of Industrial Education, 16(1), P. 202-209.

C. Saejueng. (2019). Cloud Enterprise Resource Planning. Business Review, 11(1), P. 243-261. 131