Media and Information Literacy

Main Article Content

สรียา ทับทัน

Abstract

บทความปริทัศน์นี้ขอเสนอแนวคิดเกี่ยวกับสื่อ การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ ในยุคสังคมสารสนเทศ สื่อมวลชนได้เข้าไปมีบทบาทสำคัญและมีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ในสังคม จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่เราควรตั้งรับ และตระหนักถึงความท่วมท้นของสารสนเทศ (Information exposure) เพราะข้อมูลที่รับเข้ามานั้นมีทั้งที่เป็นประโยชน์และข้อมูลที่ไร้ค่า บุคคลจึงต้องมีความสามารถในการรับข้อมูลข่าวสาร เลือกสรร คัดกรองและเข้าถึงข้อมูลที่เป็นจริง ตลอดจนสามารถนำข้อมูลมาสร้างประโยชน์ให้เกิดแก่ตนเองได้

Article Details

How to Cite
ทับทัน ส. (2014). Media and Information Literacy. Journal of Industrial Education, 13(2), 1–6. retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/146264
Section
Review Article

References

[1] กรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Framework) ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2557 จาก https://www.qlf.or.th/

[2] องค์ความรู้ภาษาไทยโดยราชบัณฑิต. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2557 จาก https://www.dailynews.co.th/Content/Article/262150/%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%

[3] Bernie Trilling and Charles Fadel. 2009. 21st Century Skills: Learning for Life in Our Times. Publisher: Jossey-Bass;

[4] วิจารณ์ พานิช. 2555. วิถีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

[5] พรพิพย์ เย็นจะบก. (ม.ป.ป.). องค์ความรู้การรู้เท่าทันสื่อในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

[6] การรู้สารสนเทศ (Information Literacy): ทักษะ แห่งการเรียนรู้. ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2557 จาก https://www.schoolguide.in.th/index. php?option=com_school&view=contentdetail&id=23&Itemid=56

[7] ชุติมา สัจจานันท์. 2556. การรู้สารสนเทศ: แนวคิด การศึกษาและวิจัยมนประเทศไทยและกลุ่มประชาคมอาเซียน. การประชุมวิชาการประจำปี สวทช. ครั้งที่ 9 (NAC2013) เข้าถึงได้จาก nstda.or.th/nac2013/download.presentation/20130401-chutima-IL(CC-307-01-AM)pdf.pdf.

[8] ศรีดา ตันทะอธิพานิช (บรรณาธิการ). 2555. รู้เท่าทันสื่อ ICT. กรุงเทพฯ: เอเชีย แปซิฟิค ออฟเซ็ท.

[9] พรพิพย์ เย็นจะบก. 2552. ถอดรหัส ลับความคิดเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพฯ : ออฟเซ็ท ครีเอชั่น.

[10] จินตนา ตันสุวรรณนนท์. 2551. ผลการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. 14 (1), 21-32

[11] กฤษณัท แสนทวี. 2553. รายงานวิจัยเรื่องพฤติกรรมการเปิดรับและระดับการรู้ทันทันสื่อของเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร. คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

[12] พรพิพย์ เย็นจะบก. 2555. รู้เท่าทันสื่อบนสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองของประเทศไทย : กรณีศึกษาเฉพาะสื่อกระแสหลักและสื่อใหม่ในช่วงเวลาหาเสียงเลือกตั้ง ปี พ.ศ. 2554. ภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.