การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

Main Article Content

Somkiat Tuntiwongwanich

บทคัดย่อ

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังในประเทศไทยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้าง ความรู้ให้ผู้สาเร็จการศึกษา สามารถที่จะบรรลุความเป็นเลิศทางวิชาการที่มีคุณภาพสูง ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ จาเป็นต้องมีการบูรณาการกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับนักศึกษาและผู้ใช้ ซึ่ง วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ 1) เพื่อให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศกับนักศึกษาซึ่งเป็นผู้ใช้งาน 2) เพื่อพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศโดยใช้ CMS (Joomla) และ Moodle (e-Learning) 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองของการวิจัยนี้ รวมถึงคณะกรรมการบริหาร อาจารย์ นักศึกษาระดับปริญญา ตรี นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ในคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จานวน 341 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ผลที่ได้มาวิเคราะห์โดยโปรแกรม SPSS สถิติที่ใช้ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าผลการประเมิน ด้านคุณภาพการผลิตสื่ออยู่ในระดับสูงและด้านความพึงพอใจของผู้ใช้อยู่ในระดับสูง

Article Details

How to Cite
Tuntiwongwanich, S. (2017). การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 16(1), 202–209. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/141355
บท
บทความวิจัย

References

[1] Rattanawongsa, R. and Koraneekij, P. 2015. A Development of Blended Information Literacy Learning Web for Thai High School Students. Procedia Social and Behavioral Sciences, 174, p.2693-2699.

[2] Karimi, F., Poo, D. and Tan, Y. 2015. Clinical information systems end user satisfaction The expectations and needs congruencies effects. Journal of Biomedical Informatics, 53, p.342-354.

[3] W . Winston, R. 2003. Educational administration: Managing the development of large software systems. Proceedings IEEE Wescon, p.1-9.

[4] S tefanou, C. 2003. System Development Life Cycle In Encyclopedia of Information Systems. Elsevier, p.329-344.

[5] C avus, N. 2015. Distance Learning and Learning Management Systems. Procedia Social and Behavioral Sciences, 191, p.872-877.

[6] Gamalielsson, J., Lundell, B., Feist, J., Gustavsson, T. and Landqvist, F. 2015. On Organisational Influences in Software Standards and Their Open Source Implementations. Information and Software Technology, 67, p.30-43.

[7] H arpe, S. 2015. How to Analyze Likert and Other Rating Scale Data. Pharmacy Teaching and Learning, 7(6), p.836-850.

[8] Murray, L., Booth, T. and McKenzie, K. 2015. An analysis of differential item functioning by gender in the Learning Disability Screening Questionnaire (LDSQ). Research in Developmental Disabilities, 39, p.76-82.

[9] Pattanama, N., Chachiy, M., Suwanjan, P. and Tangkunanan, P, 2015. The Development of Computer-Assisted Instruction of Plant and Animals for Pratomsuksa Students. Journal of Industrial Education. 14 (1), p.42-47.