ประสิทธิภาพของการร่วมแรงร่วมใจในโซ่อุปทานผลิตภัณฑ์นมพร้อมดื่มจังหวัดสระแก้วในการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อรองรับการเข้าสู่เขตเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว

Main Article Content

ปรียาวดี ผลเอนก
ธนัฎฐ์ตฤณ บุนนาค

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการร่วมแรงร่วมใจในโซ่อุปทานที่มีต่อประสิทธิภาพของการจัดการโซ่อุปทานผลิตภัณฑ์นมพร้อมดื่ม จังหวัดสระแก้ว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดซื้อจัดหาจากภายนอก จำนวน 36 คน ใช้การเก็บข้อมูลด้วยวิธีการถอดแบบ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ การจำแนกกลุ่มตัวแปรใหม่ และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ ผลการศึกษาพบว่า เกิดปัญหาสหสัมพันธ์กันระหว่างตัวแปรอิสระ จึงจำแนกกลุ่มตัวแปรใหม่ (Principal Component Analysis: PCA)  ได้กลุ่มตัวแปรย่อยของการร่วมแรงร่วมใจในโซ่อุปทาน จำนวน 6 ตัวแปรย่อย ได้แก่ ความได้เปรียบในการจัดซื้อจัดหา ความยืดหยุ่นของโซ่อุปทาน ความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้า-ผู้จัดหาปัจจัยการผลิต การแบ่งปันข้อมูลภายในสมาชิกโซ่อุปทาน ความเชื่อมโยงภายในโซ่อุปทาน และความไว้วางใจในสมาชิกโซ่อุปทาน หลังจากทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นแบบพหุพบว่าตัวแปรย่อยทั้งหมด 6 ตัวแปรมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของการจัดการโซ่อุปทานผลิตภัณฑ์นมพร้อมดื่ม จังหวัดสระแก้ว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01

Article Details

How to Cite
ผลเอนก ป., & บุนนาค ธ. (2017). ประสิทธิภาพของการร่วมแรงร่วมใจในโซ่อุปทานผลิตภัณฑ์นมพร้อมดื่มจังหวัดสระแก้วในการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อรองรับการเข้าสู่เขตเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 16(3), 186–193. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/129149
บท
บทความวิจัย

References

[1] Wisner, Joel D. et al. 2009. Principles of Supply Chain Management. 2nd ed. United State of America: South-Western Cengage Learning.

[2] Kripunyapong, R., et al. 2012. Performance improvement of Purchasing and Inventory management (Case: AAA Company). Proceeding of IE Network Conference 2012.

[3] Sarayuth Traisilanan. 2011. Supply Chain Relationship Between Suppliers And Buyers In Food Industry Nakhon Ratchasima Province. Thesis, the Degree of Master of Management, Suranaree University of Technology.

[4] Suneerat Aimlamai, Adual Wangtal and Jurairat Thanomkij. 2013. Food standard through whole supply chain to support the propulsion of strategy for food safety: dairy milk. The Thailand Research Fund (TRF).

[5] Wangnamyen dairy Cooperative Limited. 2017. Background “Wangnamyen dairy Cooperative Limited”. [online]. Retrieved from http://www.wangnamyendairy.com/ (January 24, 2017).

[6] Choengdee, Ch. (2017, March 20). Warehouse manager Wangnamyen dairy Cooperative Limited. [Interview].

[7] Narasimhan, R. and Das, A. 2001. The Impact of Purchasing Integration and Practices on Manufacturing Performance. Journal of Operations Management, 19 (2001), p. 593–609.

[8] Dawei, Zh., et al. 2011. Policies, Customer-Supplier Relationships and Information Systems and Technologies in the Purchasing Function and Their Impacts on Purchasing and Supply Chain Management Performance. The Proceeding of IEEE 2011.

[9] Pimtaku, S. 2011. Operational Efficiency with ERP Procurement System: A Case Study of Rajamankala University of Technology Isarn, Nakhon Ratchasima Province. Independent Study, the Degree of Master of Business Administration (Information Systems), Rajamankala University of Technology Thanyaburi.

[10] Liu, L. 2011. The Effects of Manufacturing Firm’s Supply Chain Performance on Competitive Advantage. 2011 Fourth International Joint Conference on Computational Sciences and Optimization.

[11] Li, S., et al. 2006. The Impact of Supply Chain Management Practices on Competitive Advantage and Organizational Performance. Omega, 34(2006), p. 107 – 124.

[12] Mathakanokkul S, Atthirawong W. and Trimetsoontorn J. 2011. Readiness of Using Supply Chain Management for E-Commerce Retail Business in Thailand. Journal of Education Industrial, 11(1), p. 147-156.

[13] Panayides, P., Venus, Lun Y.H. 2009. The Impact of Trust on Innovativeness and Supply Chain Performance. International Journal of Production Economics, 122(2009), p. 35–46.