ความสัมพันธ์ระหว่างหลักการศึกษาเกษตร “การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ” กับจิตวิทยาการศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้เห็นถึงหลักการศึกษาเกษตร “การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ” กับจิตวิทยาการศึกษาว่ามีความสัมพันธ์กัน เนื่องมาจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับปรัชญา แนวคิด ทฤษฎี และรูปแบบการเรียนการสอนทางการศึกษาเกษตรส่วนใหญ่เป็นนักจิตวิทยาหรือมีความเกี่ยวข้องกับจิตวิทยา เช่น William James, John Dewey, Jean Piaget, Albert Bandura และ Abraham H. Maslow ฯลฯ ซึ่งได้นำแนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยามาใช้เป็นพื้นฐานในการสร้างปรัชญา แนวคิด ทฤษฎี และรูปแบบการเรียนการสอนที่ใช้ในการศึกษาเกษตร จึงทำให้แนวคิดหรือทฤษฎีการศึกษาเกษตรและจิตวิทยามีความสอดคล้องกัน
Article Details
How to Cite
สังเนตร ว., & อินทรเทศ ศ. (2015). ความสัมพันธ์ระหว่างหลักการศึกษาเกษตร “การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ” กับจิตวิทยาการศึกษา. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 14(2), 742–747. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/122647
บท
บทความวิชาการ
"ข้อคิดเห็น เนื้อหา รวมทั้งการใช้ภาษาในบทความถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน"
References
[1] นพคุณ ศิริวรรณ. 2555. ปัญหาและอุปสรรคที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาเกษตรตามแนวคิดและปรัชญาที่พึงประสงค์ของ ประเทศไทย : จากอดีตถึงปัจจุบัน. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาปรัชญาการศึกษาเกษตร (03688201) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. (เอกสารอัดสำเนา).
[2] ประทุม อังกูรโรหิต. 2537. ปรัชญาปฏิบัตินิยม รากฐานปรัชญาการศึกษาของจอห์น ดิวอี้. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[3] นพคุณ ศิริวรรณ. 2555. สรุปปรัชญา/ลัทธิ Pragmatism. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาปรัชญาการศึกษาเกษตร (03688201) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. (เอกสารอัดสำเนา).
[4] บุบผา เรืองรอง. 2556. การเรียนรู้โดยการลงมือทำ (Learning by doing). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://taamkru.com/th/. (วันที่ค้นข้อมูล: 6 ธันวาคม 2556).
[5] ยุทธพงษ์ คุปตวุฒินันท์ และคณะ. 2553. คุณสมบัติของครูเกษตรตามความต้องการของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน สังฆประชานุสรณ์ สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 9(1), น. 82-89.
[6] โรงเรียนสิรินธร. 2556. จอห์น ดิวอี้(John Dewey). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https:// greenface. Sirin.ac.th/. (วันที่ค้นข้อมูล: 6 ธันวาคม 2556).
[7] นพคุณ ศิริวรรณ. ม.ป.ป. Pragmatism คืออะไร?. เอกสารประกอบคำบรรยายวิชา 03688201 ปรัชญาการศึกษาเกษตร. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. (เอกสารอัดสำเนา).
[8] ศราวุธ อินทรเทศ. 2556. หลักการศึกษาเกษตร. กรุงเทพฯ : มีน เซอร์วิส.
[9] คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 2556. Constructionism. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.kmutt.ac.th/organization/Education/ Technology/tech_ed/constructionism/ constructionism3.html. (วันที่ค้นข้อมูล: 6 ธันวาคม 2556).
[10] Feldman, Robert. 1992. Elements of Psychology. New York : McGraw-Hill.
[11] เติมศักดิ์ คทวณิชม. 2546. จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology). กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[12] วรรณี ลิมอักษร. 2546. จิตวิทยาการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 3. สงขลา : ภารกิจเอกสารและตำรา กลุ่มงานส่งเสริมการศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
[13] Mayer, Richard E. 1987. Educational Psychology : A Cognitive Approach. Boston : Little Brown.
[14] Woolfolk, Anita E. 1995. Educational Psychology. Boston : Allyn & Bacon.
[15] ณัฐพรหม อินทุยศ. 2553. จิตวิทยาการศึกษา. เพชรบูรณ์ : สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์.
[16] วิไลวรรณ ศรีสงคราม และคณะ. 2549. จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.
[17] นุชลี อุปภัย. 2555. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[18] สุรางค์ โค้วตระกูล. 2552. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[19] จิราภา เต็งไตรรัตน์ และคณะ. 2554. จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[20] มาลินี จุฑะรพ. 2555. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : อักษรพิพัฒน์.
[2] ประทุม อังกูรโรหิต. 2537. ปรัชญาปฏิบัตินิยม รากฐานปรัชญาการศึกษาของจอห์น ดิวอี้. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[3] นพคุณ ศิริวรรณ. 2555. สรุปปรัชญา/ลัทธิ Pragmatism. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาปรัชญาการศึกษาเกษตร (03688201) คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. (เอกสารอัดสำเนา).
[4] บุบผา เรืองรอง. 2556. การเรียนรู้โดยการลงมือทำ (Learning by doing). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://taamkru.com/th/. (วันที่ค้นข้อมูล: 6 ธันวาคม 2556).
[5] ยุทธพงษ์ คุปตวุฒินันท์ และคณะ. 2553. คุณสมบัติของครูเกษตรตามความต้องการของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน สังฆประชานุสรณ์ สำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 9(1), น. 82-89.
[6] โรงเรียนสิรินธร. 2556. จอห์น ดิวอี้(John Dewey). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https:// greenface. Sirin.ac.th/. (วันที่ค้นข้อมูล: 6 ธันวาคม 2556).
[7] นพคุณ ศิริวรรณ. ม.ป.ป. Pragmatism คืออะไร?. เอกสารประกอบคำบรรยายวิชา 03688201 ปรัชญาการศึกษาเกษตร. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. (เอกสารอัดสำเนา).
[8] ศราวุธ อินทรเทศ. 2556. หลักการศึกษาเกษตร. กรุงเทพฯ : มีน เซอร์วิส.
[9] คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 2556. Constructionism. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.kmutt.ac.th/organization/Education/ Technology/tech_ed/constructionism/ constructionism3.html. (วันที่ค้นข้อมูล: 6 ธันวาคม 2556).
[10] Feldman, Robert. 1992. Elements of Psychology. New York : McGraw-Hill.
[11] เติมศักดิ์ คทวณิชม. 2546. จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology). กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[12] วรรณี ลิมอักษร. 2546. จิตวิทยาการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 3. สงขลา : ภารกิจเอกสารและตำรา กลุ่มงานส่งเสริมการศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
[13] Mayer, Richard E. 1987. Educational Psychology : A Cognitive Approach. Boston : Little Brown.
[14] Woolfolk, Anita E. 1995. Educational Psychology. Boston : Allyn & Bacon.
[15] ณัฐพรหม อินทุยศ. 2553. จิตวิทยาการศึกษา. เพชรบูรณ์ : สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์.
[16] วิไลวรรณ ศรีสงคราม และคณะ. 2549. จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล กรุ๊ป.
[17] นุชลี อุปภัย. 2555. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[18] สุรางค์ โค้วตระกูล. 2552. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[19] จิราภา เต็งไตรรัตน์ และคณะ. 2554. จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
[20] มาลินี จุฑะรพ. 2555. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : อักษรพิพัฒน์.