การศึกษาความต้องการจำเป็นการสอนงานของหัวหน้างานในอุตสาหกรรม การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นการสอนงานของหัวหน้างานในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มตัวอย่าง คือ วิศวกรระดับหัวหน้างาน วิศวกรระดับปฏิบัติงาน และช่างเทคนิค จำนวน 290 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย () และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) จัดลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (Priority Needs Index : PNI) ผลการวิจัยพบว่า
- ความต้องการฝึกอบรมเพิ่มเติมของของหัวหน้างานในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ในภาพรวม 7 ด้าน อยู่ในระดับมาก (
=17) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การวางแผนการสอน (
=4.29) การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (
=4.26) การออกแบบและสร้างสื่อการสอน (
=4.19) การวิเคราะห์เรื่องการสอนงาน (
=4.17) การเตรียมเอกสารการสอน (
=4.15) การเตรียมเอกสารการวัดผลประเมินผล
(=4.15) การเลือกวิธีสอน(
=4.11) ตามลำดับ
- จัดลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นฝึกอบรมเกี่ยวกับการสอนงาน การเขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (0.51) การเตรียมเอกสารการการสอน (0.50) การออกแบบและสร้างสื่อการสอน (0.49) การวิเคราะห์เรื่องการสอนงาน (0.48) การวางแผนการสอน (0.47) การเตรียมเอกสารการวัดผลประเมินผล (0.47) การเลือกวิธีสอน (0.47) ตามลำดับ
Article Details
How to Cite
โพธิวัฒน์ ศ., & ชินะตระกูล ร. (2015). การศึกษาความต้องการจำเป็นการสอนงานของหัวหน้างานในอุตสาหกรรม การผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในเขตพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 14(2), 260–267. สืบค้น จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/122375
บท
บทความวิจัย
"ข้อคิดเห็น เนื้อหา รวมทั้งการใช้ภาษาในบทความถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน"
References
[1] แพรวพรรณ บุญฤทธิ์มนตรี. 2550. การฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนงานให้กับหัวหน้างานในโรงงานอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ศึกษากรณี บริษัท แคล-คอมพ์ อีเล็คโทรนิค(ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน). ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาผู้ใหญ่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
[2] ธีรวุฒิ บุญยโสภณ. 2542. การบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษาเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[3] อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. 2552. การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล. กรุงเทพฯ : เอช อาร์ เซ็นเตอร์.
[4] สมิต สัชฌุกร. 2547. เทคนิคการสอนงาน.กรุงเทพฯ : สายธาร.
[5] กรมโรงงานอุตสหากรรม. 2557. ข้อมูลรายชื่อโรงงาน อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : กระทรวงอุตสาหกรรม.
[6] อรพินทร์ กุลประภา. 2524. การพัฒนาบุคลากรในวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาบริหารการ ศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[7] พิสิฐพล ไกรพิพัฒน์. 2533. การศึกษากระบวนการหาความจำเป็นในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านสื่อการสอนของสถาบัน อุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาโสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[8] ไชยนรินทร์ ฟ้าภิญโญ. 2546. การศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการของครูฝึกฝีมือแรงงานของศูนย์ พัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหาร อาชีวะและเทคนิคศึกษา ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[9] สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2546. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค
[10] อมรรัตน์ ชีวังกูร. 2553. การพัฒนาการเรียนการสอนบนเว็บด้วยการเรียนรู้เชิงวัตถุ วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 10(1), น. 26-27.
[11] กรกช จันทน์สุคนธ์. 2548. สมรรถนะในการสอนงานของหัวหน้าในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
[2] ธีรวุฒิ บุญยโสภณ. 2542. การบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษาเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[3] อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. 2552. การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล. กรุงเทพฯ : เอช อาร์ เซ็นเตอร์.
[4] สมิต สัชฌุกร. 2547. เทคนิคการสอนงาน.กรุงเทพฯ : สายธาร.
[5] กรมโรงงานอุตสหากรรม. 2557. ข้อมูลรายชื่อโรงงาน อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : กระทรวงอุตสาหกรรม.
[6] อรพินทร์ กุลประภา. 2524. การพัฒนาบุคลากรในวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาบริหารการ ศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[7] พิสิฐพล ไกรพิพัฒน์. 2533. การศึกษากระบวนการหาความจำเป็นในการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการด้านสื่อการสอนของสถาบัน อุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาโสตทัศนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
[8] ไชยนรินทร์ ฟ้าภิญโญ. 2546. การศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการของครูฝึกฝีมือแรงงานของศูนย์ พัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหาร อาชีวะและเทคนิคศึกษา ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[9] สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2546. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค
[10] อมรรัตน์ ชีวังกูร. 2553. การพัฒนาการเรียนการสอนบนเว็บด้วยการเรียนรู้เชิงวัตถุ วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 10(1), น. 26-27.
[11] กรกช จันทน์สุคนธ์. 2548. สมรรถนะในการสอนงานของหัวหน้าในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง.