ผลกระทบของความเร็วลมทางออกและอุณหภูมิน้ำหล่อเย็นของพัดลมเย็นด้วยท่อความร้อนแบบสั่นวงรอบ
Main Article Content
บทคัดย่อ
พัดลมเย็นต้นแบบขนาด 355 × 300 × 700 มิลลิเมตร ใช้ท่อความร้อนแบบสั่นวงรอบสร้างจากท่อคาปิลลารีทองแดงแทนแผงรังผึ้ง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน 1.5 มิลลิเมตร ภายในท่อความร้อนใช้สารทำงาน R-134a ทำการศึกษา เชิงการทดลองถึงผลกระทบของตัวแปรต่างๆ ที่มีต่อสมรรถนะการทำความเย็นของพัดลมเย็น คือ อัตราการไหลอากาศ อุณหภูมิน้ำเย็น และจำนวนท่อความร้อน โดยทำการทดสอบที่ความเร็วพัดลมในช่วงระหว่าง 3.5 เมตรต่อวินาทีถึง 4.2 เมตรต่อวินาที ที่อุณหภูมิน้ำเย็น 6 องศาเซลเซียส ถึง 21 องศาเซลเซียส ท่อความร้อนประกอบด้วย 2 และ 4 ชุดท่อ พบว่า อัตราการถ่ายเทความร้อนลดลงเมื่อเพิ่มความเร็วลมของ 2 และ 4 ชุดท่อ การเพิ่มอุณหภูมิน้ำเย็นทำให้อัตรา การถ่ายเทความร้อนและประสิทธิผลการทำความเย็นของท่อความร้อนลดลง การเพิ่มท่อความร้อนเป็น 4 ท่อจะให้ผลลัพธ์ดีกว่าการใช้ 2 ท่อ และที่อัตราส่วนความชื้นอากาศขาออก เมื่อใช้ท่อความร้อนจะมีค่าลดลงเพียงร้อยละ 6.6 ของอัตราส่วนความชื้นอากาศขาเข้า
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข่อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือว่าร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม หากบุคคล หรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เท่านั้น
References
Wechillmart. (2020). How does the air conditioning system work, Retrieved September 16, 2019, from https://www.wechillmart.com/blog/air-conditioning-system-work/
Ingreen. (2018, April 4). Principle of Evaporative Cooling. Retrieved January 27, 2020, from https://ingreen.co.th
P. Charoensawan, et al. (2003). Closed loop pulsating heat pipes Part A: parametric experimental investigations. Appl. Therm. Eng, (23), 2009–2020.
P. Charoensawan and P. Terdtoon. (2008). Thermal performance of horizontal closed-loop oscillating heat pipes. Appl. Therm. Eng, (28), 460-466.
A. Siricharoenpanich, et al. (2019). Thermal management system of CPU cooling with a novel short heat pipe cooling system. Energy and building, (197), 100545.
H. Yang, et al. (2019). Experimental study on a pulsating heat pipe heat exchanger for energy saving in air-conditioning system in summer. Energy and building, (197), 1–6.
J.K. Calautit, et al. (2020). Numerical and experimental investigation of the indoor air quality and thermal comfort performance of a low energy cooling windcatcher with heat pipes and extended surfaces. Renewable energy, (145), 744-756.
Y. Tang, et al. (2021). Experimental investigation on active heat sink with heat pipe assistance for high-power automotive LED headlights. Case Studies in Thermal Engineering, (28), 1-10.
L.H. Saw, et al. (2021). Development of the closed loop pulsating heat pipe cool roof system for residential buildings. Case Studies in Thermal Engineering, (28), 1-11.
P. Charoensawan. (2012). Heat pipe technologies. Phitsanulok: Focus Printing.