ระบบโลจิสติกส์ย้อนกลับเพื่อการจัดการซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาระบบโลจิสติกส์ย้อนกลับเพื่อการจัดการรซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ในประเทศไทยในการนำไปสู่การเพิ่มมูลค่าของสินค้า และช่วยลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและเกิดความปลอดภัยของผู้บริโภคมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการโลจิสติกส์ย้อนกลับของซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ในประเทศไทย 2) เพื่อประเมินต้นทุนโลจิสติกส์ย้อนกลับของซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ในประเทศไทย 3) เพื่อออกแบบระบบโลจิสติกส์ย้อนกลับของซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ในประเทศไทย 4) เพื่อนำเสนอมาตรการจูงใจในการจัดการโลจิสติกส์ย้อนกลับสำหรับซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ในประเทศไทย โดยการใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 องค์กร และกลุ่มตัวอย่าง ผู้บริโภค 400 คน ทำการใช้สถิติวิเคราะห์ทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ การวิเคราะห์ต้นทุนการบัญชีบริหารของระบบต้นทุนฐานกิจกรรมด้วยการบัญชีบริหาร ผลการศึกษา การออกแบบระบบโลจิสติกส์ย้อนกลับของซากหลอดฟลูออเรสเซนต์และมาตรการจูงใจในการจัดการโลจิสติกส์ย้อนกลับสำหรับซากหลอดฟลูออเรสเซนต์ที่เหมาะสม
Article Details
เนื้อหาและข่อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือว่าร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม หากบุคคล หรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมด หรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อ หรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาต เป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงาน และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม เท่านั้น
References
กรมควบคุมมลพิษ. (2560). คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการของเสียอันตรายชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักกากของเสียและสารอันตราย.
_______ (2561). รายงานสถานการณ์ของเสียอันตรายจากชุมชน ปี พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ. ส่วนของเสียอันตราย สำนักจัดการของเสียสารอันตราย.
กรมควบคุมมลพิษ. (2555). รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2555. กรุงเทพฯ: [Access on Mar 2, 2018]. Available from: www.pcd.go.th
Samir, K. S. (2008). Network Design for Reverse Logistics. Omega, 36(4), 535-548.
จัตตุรงค์. เพลินหัด. (2559). เอกสารประกอบการสอน LOG.4301 การจัดการต้นทุนโลจิสติกส์, 8 มิถุนายน 2559. http://www.teacher.ssru.ac.th/jatturong_pl/pluginfile.php/150/block_html/content/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%203.pdf
เพียงระวีและวัชรพจน์. (2558). การเปรียบเทียบห่วงโซ่อุปทานแบบไปข้างหน้าและแบบวงปิด กรณีศึกษา โรงงานผลิตชั้นจัดแสดงสินค้า. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการมหาวิทยาลัยขอนแก่น, 8(1), 111-134.
Macmillan, H. (1971). Riding the storm, 1956-1959. Macmillan Children's Books.
กระทรวงมหาดไทย (2561). ระบบสถิติทางการทะเบียนของกรมการปกครอง. [Access on Mar 2, 2018]. Available from: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/