แบบจำลองพลวัตเครื่องปฏิกรณ์เชิงพื้นที่ถังกวนผสมหมุนเวียนของระบบบึงประดิษฐ์การไหลเวียนใต้ชั้นกรอง สำหรับบำบัดน้ำเสีย
คำสำคัญ:
แบบจำลองคณิตศาสตร์, เครื่องปฏิกรณ์เชิงพื้นที่ถังกวนผสมหมุนเวียน, บึงประดิษฐ์การไหลเวียนใต้ชั้นกรอง, บำบัดน้ำเสียบทคัดย่อ
วิจัยในครั้งนี้เพื่อพัฒนาแบบจำลองพลวัตเครื่องปฏิกรณ์เชิงพื้นที่ถังกวนผสมหมุนเวียน (RCSTAR) ของระบบบำบัดน้ำเสียบึงประดิษฐ์การไหลเวียนใต้ชั้นกรอง (SRFCW) ใช้ตัวกลางถ่านกัมมันต์ชนิดเม็ด (GAC) บรรจุในกระถางต้นกกจำนวน
29 กระถาง มีอัตราส่วนความกว้างต่อความยาว (<1:4) ใช้พื้นที่สะสม (Travel Area; TA) 0.50 ตารางเมตร ความลึกชั้นกรองที่ 20 เซนติเมตร พบว่าอัตราส่วนการหมุนเวียน (R) เท่ากับ 3 และเวลาหมุนเวียน (HReT) 2 ชั่วโมงในการบำบัดน้ำเสียจากอ่างล้างจาน พบว่ามีประสิทธิภาพการกำจัดค่าซีโอดีและบีโอดี (COD and BOD Removal Efficiency) ได้ถึง 90.19±3.39% และ 87.50±2.90% ตามลำดับ และเกิดปฏิกิริยาอันดับที่ 2 มีค่าสัมประสิทธิ์เชิงพื้นที่ของการย่อยสลาย kA2nd เท่ากับ 0.158 และ 0.223 เมตร/วัน ตามลำดับ
References
รัฐพล สุขสมบูรณ์ และ ชัยยันต์ จันทร์ศิริ, “ศักยภาพเครื่องปฏิกรณ์กวนชีวภาพแบบฟลูอิไดซ์เบดตัวกลางถ่านกัมมันต์ชนิดเม็ด,” วารสารเกษตรพระวรุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, ปีที่ 15, เล่ม 1, หน้า 238-247, 2561.
รัฐพล สุขสมบูรณ์, ชัยยันต์ จันทร์ศิริ, วุฒิกร สายแก้ว, และ ศิวดล กัญญาคำ, “แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเครื่องปฏิกรณ์กวนชีวภาพแบบฟลูอิไดซ์เบดตัวกลาง ถ่านกัมมันต์ชนิดเม็ดในการบำบัดน้ำเสียชุมชนเพื่อใช้ทางการเกษตร,” วารสารเกษตรพระวรุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, ปีที่ 16, ฉบับที่ 2, หน้า 259–269, 2562.
R. Suksomboon, C. Junsiri, S. Tangjitjaroenkit, M. Moselhy, and P. Padungthon, “Mathematical models of a fluidized bed bioreactor using granular activated carbon (FBBR-GAC) for wastewater treatment,” Engineering and Applied Science Research, vol. 46, no. 3, pp. 183-191, 2019.
V. V. Chandanshive, N. R. Rane, A. S. Tamboli, A. R. Gholave, R. v Khandare, and S. P. Govindwar, “Co-plantation of aquatic macrophytes Typha angustifolia and Paspalum scrobiculatum for effective treatment of textile industry effluent,” Journal of Hazardous Materials, vol. 338, pp. 47–56, 2017.
F. Masi et al., “Lessons learnt from a pilot study on residual dye removal by an aerated treatment wetland,” Science of the Total Environment, vol. 648, pp. 144–152, 2019.
รัฐพล สุขสมบูรณ์, ชัยยันต์ จันทร์ศิริ, ศิวดล กัญญาคำ, และ สุธาวัลย์ ตั้งจิตเจริญกิจ, “แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบบึงประดิษฐ์การไหลเวียนใต้ชั้นกรองในการบำบัดน้ำเสียชุมชนสำหรับที่พักอาศัย,” วารสารวิจัยราชภัฏเชียงใหม่, ปีที่ 22, ฉบับที่ 2, หน้า 37-48, 2564.
A. Gross, O. Shmueli, Z. Ronen, and E. Raveh, “Recycled vertical flow constructed wetland (RVFCW)—a novel method of recycling greywater for irrigation in small communities and households,” Chemosphere, vol. 66, no. 5, pp. 916–923, 2007.
รัฐพล สุขสมบูรณ์, “การออกแบบระบบสวนน้ำเพื่อฟื้นฟูคูคลองในเขตเมืองด้วยแบบจำลองคณิตศาสตร์,” วิทยานิพนธ์ วศ.บ (สิ่งแวดล้อม), มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น, 2550.
P. Knowles, G.Dotro, J. Nivala, and J. Garcia, “Clogging in subsurface-flow treatment wetlands,” Ecological Engineering, Amsterdam, vol.37, pp. 99-112, 2011.
P. Yu and Y. Luo, “Novel water treatment process—combined cationic ion-exchange bed and degasifier in a three-phase fluidized bed,” Desalination, vol. 151, no. 2, pp. 145–152, 2003.
N. Fernández, S. Montalvo, L. Guerrero, E. Sánchez, I. Cortés, and L. Travieso, “Anaerobic fluidized bed reactor application to tropical fruit wine effluent,” Water science and technology, vol. 56, no. 2, pp. 33–38, 2007.
R. Sowmeyan and G. Swaminathan, “Evaluation of inverse anaerobic fluidized bed reactor for treating high strength organic wastewater,” Bioresource technology, vol. 99, no. 9, pp. 3877–3880, 2008.
S. R. Qasim, E. M. Motley, and G. Zhu, Water works engineering: planning, design, and operation. New Jersey: Prentice Hall, 2000.
J. Nivala et al., “Comparative analysis of constructed wetlands: The design and construction of the ecotechnology research facility in Langenreichenbach, Germany,” Ecological Engineering, vol. 61, pp. 527–543, 2013.
W. Xing et al., “Enhancement of the performance of anaerobic fluidized bed bioreactors (AFBBRs) by a new starch based flocculant,” Separation and purification technology, vol. 72, no. 2, pp. 140–146, 2010.
A. Zafarzadeh, B. Bina, M. Nikaeen, A. H. Movahedian, and N. M. Hajian, “Performance of Moving Bed Biofilm Reactors for Biological Nitrogen Compounds Removal from Wastewater by Partial Nitrification-Denitrification Process,” Iranian Journal of Environmental Health Science & Engineering, vol.7, no. 4, pp. 353-364, 2010.
R. H. Kadlec and S. Wallace, Treatment wetlands. 2nd ed. Florida: CRC press, 2008.
K. Haribabu and V. Sivasubramanian, “Treatment of wastewater in fluidized bed bioreactor using low density biosupport,” Energy Procedia, vol. 50, pp. 214–221, 2014.
K. Haribabu and V. Sivasubramanian, “Biodegradation of organic content in wastewater in fluidized bed bioreactor using low-density biosupport,” Desalination and Water Treatment, vol. 57, no. 10, pp. 4322–4327, 2016.
กรมควบคุมมลพิษ, “คู่มือการจัดการน้ำเสียสำหรับบ้านเรือน – Pollution Control Department,” สิงหาคม, 2555. [Online]. Available: https://www.pcd.go.th/publication/4551/.
APHA, AWWA, and WEF, Standard Methods for the Examination of Water and Wastewater, 23rd ed. Washington: American Public Health Association, 2017.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
ลิขสิทธิ์ของบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารฉบับนี้จะยังเป็นของผู้แต่งและยินยอมให้สิทธิ์เผยแพร่กับทางวารสาร
การเผยแพร่ในระบบวารสารแบบเปิดนี้ บทความจะสามารถนำไปใช้ได้ฟรีในการศึกษา และในทางที่ไม่เกี่ยวกับการค้า