การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ แบบเชื่อมต่อกับสายส่ง : กรณีศึกษา อ.เมืองตาก จ.ตาก Feasibility Study of Photovoltaic Grid Connected System: A Case Study in Mueang Tak District Tak

Main Article Content

วรลักษณ์ คุณทะสิงห์
พัฒน์ชญา มณีคำ มณีคำ
ธิดารัตน์ คงทน คงทน

Abstract

บทคัดย่อ
การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบเชื่อมต่อกับสายส่งใน
อ.เมืองตาก จ.ตาก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพของพลังงานแสงอาทิตย์ใน อ.เมืองตาก จ.ตาก
นอกจากนี้ยังได้ทำการศึกษาความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ สังคมและสิ่งแวดล้อม สำหรับการติดตั้ง
โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 เมกะวัตต์ในชุมชน จากการศึกษาเอกสารและเก็บข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
พบว่า อ.เมืองตาก มีปริมาณความเข้มรังสีอาทิตย์เฉลี่ยตลอดทั้งปีประมาณ 17.15 เมกกะจูลต่อตารางเมตร
ต่อวัน และความเข้มรังสีอาทิตย์โดยเฉลี่ยต่อวันประมาณ 4.80 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อตารางเมตรต่อวัน
ซึ่งมีความเหมาะสมในการนำมาใช้เป็นพลังงานทดแทน ในส่วนของการวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อมพบว่า
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ไม่มีผลกระทบทางด้านคุณภาพอากาศ ส่วนผลกระทบด้านเสียง การจราจร
ขยะมูลฝอยและฝุน่ ละออง สง่ ผลกระทบเพียงเล็กนอ้ ยในชว่ งระยะการกอ่ สรา้ งโรงไฟฟา้ เทา่ นั้น ผลการประเมิน
ทางดา้ นสังคมพบวา่ ประชาชนในพื้นที่ศึกษาทุกตำบลไม่ไดมี้ความกังวลเกี่ยวกับการสรา้ งโรงไฟฟา้ พลังงาน
แสงอาทิตย์ แต่กลับเห็นด้วยหากมีการใช้พลังงานทดแทนประเภทนี้
ผลการคำนวณด้านเศรษฐศาสตร์พบว่า ใน อ.เมืองตาก จ.ตาก สามารถแบ่งเขตพื้นที่การสร้าง
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขนาด 1 เมกกะวัตต์ ได้ 6 กลุ่มเขตพื้นที่ คือ เขตพื้นที่ 1 ต.หนองบัวใต้
ต.โป่งแดง ต.วังประจบ และ ต.ตลุกกลางทุ่ง ซึ่งมีอัตราผลตอบแทนทางการเงินตลอดอายุการใช้งานของ
โรงไฟฟ้าคือ ที่อัตราลดค่า 5% ค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 12,296,073 บาท มีระยะเวลาคืนทุน 9.26 ปี และ


มีอัตราผลตอบแทนภายในเทา่ กับ 7.55% เขตพื้นที่ 2 ต.หนองบัวเหนือ ต.ไมง้ าม และ ต.วังหิน ซึ่งมีอัตรา
ผลตอบแทนทางการเงินตลอดอายุการใช้งานของโรงไฟฟ้าคือ ที่อัตราลดค่า 5% ค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ
11,975,048 บาท มีระยะเวลาคืนทุน 9.32 ปี และมีอัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับ 7.48% เขตพื้นที่ 3
ต.ปา่ มะมว่ ง ต.แมท่ อ้ และ ต.น้ำรึม ซึ่งมีอัตราผลตอบแทนทางการเงินตลอดอายุการใชง้ านของโรงไฟฟา้
คือ ที่อัตราลดค่า 5% ค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 11,654,022 บาท มีระยะเวลาคืนทุน 9.38 ปี และมีอัตรา
ผลตอบแทนภายในเท่ากับ 7.40% เขตพื้นที่ 4 ต.หนองหลวง และ ต.เชียงเงิน ซึ่งมีอัตราผลตอบแทน
ทางการเงินตลอดอายุการใชง้ านของโรงไฟฟา้ คือ ที่อัตราลดคา่ 5% คา่ ปจั จุบันสุทธิเทา่ กับ 739,225 บาท
มีระยะเวลาคืนทุน 11.86 ปี และมีอัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับ 5.14% เขตพื้นที่ 5 ต.หัวเดียด
ซึ่งมีอัตราผลตอบแทนทางการเงินตลอดอายุการใชง้ านของโรงไฟฟา้ คือ ที่อัตราลดคา่ 5% คา่ ปจั จุบันสุทธิ
เท่ากับ 1,828,958 บาท มีระยะเวลาคืนทุน 12.56 ปี และมีอัตราผลตอบแทนภายในเท่ากับ 4.67%
เขตพื้นที่ 6 ต.ระแหง ซึ่งมีอัตราผลตอบแทนทางการเงินตลอดอายุการใช้งานของโรงไฟฟ้าคือ ที่อัตรา
ลดค่า 5% ค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 6,965,331 บาท มีระยะเวลาคืนทุน 14.12 ปี และมีอัตราผลตอบแทน
ภายในเท่ากับ 3.80%


Abstract
Feasibility study of Photovoltaic Grid Connected System: A case study in Mueang Tak
District Tak project aimed to study the potential of solar energy in Mueang Tak
District Tak. In addition, it studied the social, economic and environmental impact
analysis from using Solar Power Plants 1MW. From the study and data from several
sources, it was found that the average intensity of solar radiation throughout the year
in Mueang Tak District Tak is 17.15 MJ/m2-day and the daily average insolation for
the Earth is approximately 4.80 kWh/m2-day. Expected to be another suitable alternative
energy source for future use. In terms of environmental impact analysis, it was found
that Solar power plant has no impact on air quality. As for noise, traffic, rubbish and dust,
they have a little in the short-term construction only. Social evaluation results found
that the people in the area have not been concerned about building solar power plant
in the ground one at a time, but agree to have this type of alternative energy.
Economic analysis showed that solar power plant 1 MW in Mueang Tak District
can be divided in six group areas. The first sites will be located at Nong Bua Tai
Sub-district, Pong Daeng Sub-district, Wang Prachop Sub-district and Taluk Klang
Thung Sub-district where the discount rate throughout the utilization life is at 5%. In addition, net present value (NPV) should be set for 12,296,073 Baht, while pay-back


period must be within 9.26 years, and internal rate of return is 7.55%. The second sites
will be located at Nong Bua Nuea Sub-district, Mai Ngam sub-district and Wang Hin
Sub-district where there the discount rate throughout the utilization life is at 5%.
In addition, net present value (NPV) should be set for 11,975,048 Baht, while pay-back
period must be within 9.32 years, and internal rate of return is 7.48%. The third sites
will be located at Pa Mamuang Sub-district, Mae Tho Sub-district and Nam Ruem
Sub-district where the discount rate throughout the utilization life is at 5%. In addition,
net present value (NPV) should be set for 11,654,022 Baht, while pay-back period
must be within 9.38 years, and internal rate of return is 7.40%. The forth sites will be
located at Nong Luang Sub-district and Chiang Ngoen Sub-district where the discount
rate throughout the utilization life is at 5%. In addition, net present value (NPV) should
be set for 739,225 Baht, while pay-back period must be within 11.86 years, and internal
rate of return is 5.14%. The five site is located at Hua Diat Sub-district where there
the discount rate throughout the utilization life is at 5%. In addition, net present
value (NPV) should be set for 1,828,958 Baht, while pay-back period must be within


12.56 years, and internal rate of return is 4.67%. The fifth site is located at Rahaeng
Sub-district where the discount rate throughout the utilization life is at 5%. In addition,
net present value (NPV) should be set for 6,965,331 Baht, while pay-back period must
be within 14.12 years, and internal rate of return is 3.80%.

Article Details

How to Cite
[1]
คุณทะสิงห์ ว., มณีคำ พ. ม., and คงทน ธ. ค., “การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ แบบเชื่อมต่อกับสายส่ง : กรณีศึกษา อ.เมืองตาก จ.ตาก Feasibility Study of Photovoltaic Grid Connected System: A Case Study in Mueang Tak District Tak”, RMUTI Journal, vol. 9, no. 3, pp. 55–69, Dec. 2016.
Section
บทความวิจัย (Research article)

References

[1] Department of Alternative Energy Development and Efficiency. (2009). Ministry of Energy. Access (2 June 2014). Available (https://www.dede.go.th)

[2] Watthanapong, R. (1999). Evaluation of Photovoltaic System in Thailand. Access (2 June 2014). Available (https://www.sert.nu.ac.th)

[3] Noppadol, S. (2010). Feasibility Study of Solar Water Heating System for Replacing Boiler: Case Study Chiang Mai Ram Hospital. Master thesis in Industrial Management. Chiang Mai University

[4] TAK Treasury Office. (2015). Accounting Valuation of Land. Treasury Department, Mueang Tak District, Tak

[5] CES Solar Cell Testing Center (CSSC). (2014). Solar Radiation in Mueang Tak District. King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkhuntien, Bangkok

[6] TAK Public Works and Town & Country Planning. (2014). Information Map in Mueang Tak District. Mueang Tak District, Tak

[7] TAK Meteorological station. (2014). Information of Weather. Mueang Tak District, Tak