การเปรียบเทียบองค์ประกอบทางเคมีที่สำคัญและการต้านอนุมูลอิสระของ ลูกหม่อน 3 สายพันธุ์
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
จากการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของลูกหม่อน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์บุรีรัมย์ 60 พันธุ์เชียงใหม่ และพันธุ์คุณไพการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีพื้นฐานโดยวิธีของ AOAC (AOAC, 1995) การวิเคราะห์สารไทอะมีน ไนอะซินเพนโธเทนิค แอซิค ไพริดรอกซิน และ แอลฟาโทโคเฟอรอลโดยวิธี High performance liquid chromatography (HPLC) พบว่า หม่อนพันธุ์คุณไพมีปริมาณสารไทอะมีน (วิตามินบี 1) และไนอะชิน(วิตามินบี 3) มิปริมาณ 6.92 and 1.13 มิลลิกรัม/กรัมนํ้าหนักเปียก มากที่สดตามลำดับ (p < 0.05) ในขณะที่สาร pentatonic acid (วิตามินบี 5) และ pyridoxine (วิตามินบี 6) มิปริมาณไม่แตกต่างกัน (p > 0.05) ลูกหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60 มิสาร α - tocopherol (วิตามินอี) 7.31 มิลลิกรัม/กรัม น้ำหนักเปียกการวิเคราะห์ ปริมาณสารประกอบฟีนอลด้วยวิธี Folin-Ciocalteu reagent พบว่าหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60 มีปริมาณสูงสด 43.60 มิลลิกรัม GAE/100 กรัมนํ้าหนักเปียก (p < 0.05) ฤทธิ๋การต้านอนุมูลอิสระ โดยวิธี DPPH Radical scavenging activity และวิธี Total antioxidant capacity แสดงค่าเป็น IC50 (ความเข้มข้นร้อยละ 50 ที่ยับยั้งปฏิกิริยา) พบว่าลูกหม่อนทั้ง 3 สายพันธุ์มีฤทธิ์ ในการยับยั้งไม่แตกต่างกัน (p > 0.05) จากข้อมลดังกล่าวพบว่าลูกหม่อนพันธุ์บุรีรัมย์ 60 สามารถ นำไปพัฒนาเป็นผลิตกัณฑ์อาหาร และอุตสาหกรรมอาหารสุขภาพต่อไป เพราะมีสารประกอบพันอลลิก และวิตามินอีสูง
คำสำคัณ : ลูกหม่อน, ฤทธิ๋การต้านอนุมลอีสระ, วิตามิน, องค์ประกอบทางเคมีพื้นฐาน
Abstract
The aim of the study was to compare chemical composition and antioxidant activities of three mulberry varieties (Burirum 60, Chiang Mai and Kunpri). The proximate chemical compositions were investigated with regardity to AOAC methods (AOAC, 1995). Contents of thiaminniacin pantothenic acid pyridoxine and CL - tocopherol were analyzed by the high performance liquid chromatography (HPLC). It showed that the highest thiamin (vitamin Bl), niacin (vitmin B3) concentration were 6.92 and 1.13mg/100 g fresh weight (against the Kupri), respectively (p < 0.05). The pentatonic acid (vitamin B5) and pyridoxine (vitamin B6) of three mulberry varieties were not significantly different Burirum 60 showed the highest (X - tocopherol concentration (7.31mg/100 g fresh weight) (p < 0.05). For the Total phenolic compounds content whice was studied by Folin-Ciocalteu reagent on the method, it was found that Burirum 60 had the highest content (43.60 mg). For the DPPH radical scavenging assay, it was found that IC50 (50% of inhibition concentration) of three mulberry varieties were not significantly different (p > 0.05). The total antioxidant activity which was measured as oxygen radical absorbance capacity showed that IC50 of three mulberry varieties were not significantly different (p > 0.05). For the study, it indicated that mulberry fruits (Burirum 60) may possibly provide a health-promoting benefit as an alternative natural sources for functional food and nutraceutical industries, because of the high phenolic compounds, anthocyanins and Cl - tocopherol contents.Keywords : Mulberry fruits, antioxidant activity, vitamins, proximate chemical