การวิเคราะห์ทางเลือกการจ้ดการมูลฝอย ณ สถานฝังกลบ ในเขต เทศบาลเมืองจันทบุรี Analysis of Alterations Solid Waste Management at Landfill Site of Chanthaburi Municipality
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อสิกษาแนวทาง'ในการลดปริมาณมูลฝอยฝังกลบและเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการมูลฝอยในเขตเทศบาลเมีองจันทบุรี ดู่งปัจจุบันสถานที่ฝังกลบเหลือเพียง 7 ไร่เศษ คาดว่า รองรับมูลฝอยไดํใม่เกิน 2 ปี ด้งนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจสิกษาการจำแนกมูลฝอยและวิธิการจัดการมูลฝอย 3 กรณี ได้แก่ (1) ฝังกลบอย่างเดียว (2) ด้ดแยกไปจำหน่ายและฝังกลบ (3) ด้ดแยกไปจำหน่าย หมักทำปุย และฝังกลบ จากนั้น,วิเคราะห์เปรียบเทียบเ?งเศรษฐศาสตร์ระหว่าง'วิธิจัดการมูลฝอย ทง 3 กรณี เพี่อด้ดสินใจว่าวิธีจัดการมูลฝอยใดที่เหมาะสมต่อการลงทุน
ผลการวิจัยพบว่ามูลฝอยของเทศบาลจันทบุรีเมื่อคัดแยกประเภทแล้วจำแนกเป็นมูลฝอยแห้ง ร้อยละ 0.29มูลฝอยเปียกร้อยละ4.70 และมูลฝอยอื่นๆ ร้อยละ95.01 ดู่งผลวิเคราะห์เริเงเศรษฐศาสตร์ พบว่ากรณีที่ 3 ปริมาณมูลฝอยฝังกลบลดลงเหลือเฉลี่ย 43,070.07 ตัน/ปี หรือร้อยละ 4.98 และมี ประสิทธิภาพในการจัดการมากที่สุดเนื่องจากมูลค่าปัจจุบันสุทธี (NPV) เท่ากับ 31.35 ล้านบาท และ ให้ค่าอ้ตราผลตอบแทนต่อทุน (BCR) เท่ากับ 1.30ในขณะที่วิธีการจัดการแบบเดิมมีค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) ติดลบ และอ้’ตราผลตอบแทนต่อทุน (BCR) น้อยกว่า 1
คำสำคัญ : การจัดการมูลฝอย; การจำแนกประเภทมูลฝอย; การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์
Abstract
The objective of this research was to study the means to decrease the amount of garbage and increase the efficiency of solid waste management of Chanthaburi Municipality. Currently, the landfill site was about 7 Rais available for landfill, which will be capable to aeeommodatl solid wastes for not exceeding 2 years. So the researcher was interested to classify waste and manage solid waste on 3 cases. 1) landfilling 2) recycling and land filling, and 3) recycling, composting and land filling. Economical comparative analysis for saucy three means performance in order to consider which one is a suitable for investment.
The result analysis 0.29% rubbish of the waste of Chanthaburi Municipality was classified to be 4.70% garbage and 95.01%. other wastes The economical comparative analysis revealed was that the amount of garbage of recycling, composting and landfilling decreased to be an average of 43,070.07 tons/year or 4.98% with the most management efficiency because the Net Present Value (NPV) was 31.35 Million Baht. The Benefit- Cost Ratio (BCR) was 1.30. While the Net Present Value (NPV) of the conventional mean was minus and the Benefit- Cost Ratio (BCR) was less than 1.
Keywords : Solid Waste Management; Solid Waste classification; Economic analysis