ผลของปุ๋ยหินฟอสเฟตและปูนโดโลไมต์ต่อผลผลิตของข้าวที่ปลูกใน ชุดดินร้อยเอ็ด Effect of Rock Phosphate and Dolomite on Rice Yields in Roi-et Soil Series
Main Article Content
Abstract
บทค้ดย่อ
การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพือศึกษาผลของการใช้ปุยหินฟอสเฟตและปูนโดโลไมต์ต่อการ เจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวพันธุขาวดอกมะลิ 105 ที่ปลูกในชุดดินร้อยเอ็ด และเปรียบเทียบ ต้นทุนค่าปุยเคมีและปูนโดโลไมตใ,นแต่ละตำรับการทดลอง ดำเนินการทดลองระหว่างเดือนกรกฎาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน 2550 ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ โดยเก็บ ตัวอย่างชุดดินร้อยเอ็ดจากบริเวณนาของวิทยาเขตสุรินทร์ ในระดับความลึก 15 เซนติเมตรจากผิวดิน ผึ่งให้แห้งในที่ร่มประมาณ 3 สัปดาห์ แล้วย่อยดินให้เป็นเม็ดเล็กๆ ผสมคลุกเคล้าดินให้เข้าก้น ชั่งดิน ใส่กระถางพลาสติกกระถางละ 10 กิโลกรัม วางแผนการทดลองแบบ 4x2 factorial in CRD ประกอบ
ด้วยป็จจิย 2 ป็จจิย เดนก ปีจจัยท 1 คอ ปุยเคม แปงเบน 3 แบบ คอ แบบท 1 เส่ปุยเคมผสมสูตร 16-16-8 แบบที่ 2ใส่ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต ปุยทริปเปีลซูเปอร์ฟอสเฟต และปุยโพแทสเซียมคลอไรด์ และ แบบที่ 3 ใส่ปุยแอมโมเนียมซีลเฟต ปุยหินฟอสเฟต และปุยโพแทสเซียมคลอไรด์ โดยมีตำรับ ไม่ใส่ปุยเคมีเป็นตำรับควบคุม (control) ทุกตำรับการทดลองที่ใส่ปุยเคมีจะได้รับธาตุอาหารในอ้ตรา
เท่าก้น คือไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และ โพแทสเซียม (K) 103, 45 และ 43 ส่วนต่อล้านส่วน
ตามลาด้บ ปัจจัยท 2 คอ ปนเดเลเมต่ แปงเปีน 2 ระด้บ คอ เมเส่ปนเดเลเมต่ control และเส่
ปนโดโลไมต์อ้ตรา 641 ส่วนต่อล้านส่วน แต่ละตำรับทำการทดลอง 3 ซํ้า ผลการทดลอง ปรากภว่า
การใช้ปุยเคมีทั้ง 3 แบบไม่ทำให้ความสูงของต้น จำนวนต้นต่อกระถาง และนํ้าหนักเมล็ดดิ มีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำดัญทางสถิติ การใส่ปูนและปฏิกิริยาร่วมระหว่างปุยและปูนก็ให้ผล
ในทำนองเดียวกัน แม้ว่าต้นทุนค่าปุยและปูนในการใช้ปุยเคมีที่มีส่วนผสมของหินฟอสเฟตสูงกว่า การใช้ปุยเคมีผสมสูตร 16-16-8 และการใช้ปุยเคมีที่มีส่วนผสมของทรืปเปิลซูเปอร์ฟอสเฟตอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติ แต่จากการตรวจเอกสารผลงานวิจัย พบว่า การใช้ป๋ยหินฟอสเฟตกับข้าวจะ มีผลตกค้างต่อข้าวที่ปลูกในฤดูกัดไป จึงสรุปได้ว่า เกษตรกรที่ปลูกข้าวพันธุขาวดอกมะลิ 105 ใน ชุดดินร้อยเอ็ดภายใต้สภาพแวดล้อมของจังหวัดสุรินทร์สามารถผสมปุยใช้เองได้ โดยมีส่วนผสมของ หินฟอสเฟตหรือทรืปเปีลซูเปอร์ฟอสเฟต
คำสำคัญ : ข้าว; ชุดดินร้อยเอ็ด; หินฟอสเฟต; ทรืปเปิลซูเปอร์ฟอสเฟต; ปูนโดโลไมต์
Astract
The purposes of this research were to study the effects of Rock phosphate and Dolomite on the growth and productivity of Khao Dawk Mali 105 rice grown in Roi-et soil series and to compare the costs of fertilizers and Dolomite of each treatment. The study was conducted from July to November 2007 at Rajamangala University of Technology Isan Surin Campus by collecting Roi- et soil series samples from the rice field of the campus at 15 cm deep from the soil surface, air drying for approximately 3 weeks, grinding, mixing the soil and weighing 10 kg of soil into each plastic bucket. The experimental design was 4x2 factorial in CRD consisting of 2 factors: Chemical fertilizers and Dolomite. The fertilizers were used into 3 different types ะ Type 1 fertilizer (16-168 mixed fertilizer) Type 2 fertilizer (ammonium sulfate, triple superphosphate and potassium chloride) and Type 3 fertilizer (ammonium sulfate, rock phosphate and potassium chloride). The treatment without fertilizer application was to control. Each type of fertilizer was used at the rates of 103 ppm N, 45 ppm p and 43 ppm K. The Dolomite was used in different two levels : 1) control with no Dolomite and 2) 641 ppm Dolomite. Each treatment was conducted into 3 replications. The results showed plant height, stem pot and filled seed weight had no statistical difference due to the fertilizer and Dolomite application. The interaction between the fertilizers and Dolomite was not significantly different. However, the cost of using fertilizer containing rock phosphate was statistically higher than using 16-16-8 mixed fertilizer and fertilizer containing triple superphosphate. Many studies found that rock phosphate had residual effects on the next crop. This research concluded that the farmers could grow Khao Dawk Mali 105 rice in Roi-et soil series at Surin by using mixed fertilizer, containing rock phosphate or triple superphosphate.
Key words : rice, Roi-et soil series; Rock phosphate; Triple superphosphate; Dolomite