การพัฒนาเครื่องโรยปุ๋ยยางพารา The Development of ล Para Rubber Fertilizer Distributer

Main Article Content

มงคล คธาพนธ์

Abstract

บทคัดย่อ

การศึกษาในครั้งนี้มืวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบ สร้าง และประเมินผลเครื่องโรยปุยยางพารา โดยมิ แนวทางการศึกษาประกอบไปด้วยการศึกษาคุณสมบติเบื้องต้นของยางพารา ปุยเคมีที่ใช้ก้บยางพารา เพื่อ,ใช้ในการออกแบบ และสร้างเครื่องโรยปุยยางพาราต้นแบบ สำหรับการทดสอบและประเมินผล เครื่องต้นแบบใช้การแปรความเร็วของเครื่องโรยปุยยางพารา มุมของจานเปิดร่อง ดู่งมิค่า'ช่ที่สำค้ญ คือ ความลึกของการเปิดร่อง(มิลลิเมตร) ประสิทธิภาพการโรยปุย (%) ประสิทธิภาพการกลบปุย (%) และ ความสามารถในการทำงาน (ไร่ต่อชั่วโมง) ดู่งมิรายละเอียดเงื่อนไขของการศึกษาดังต่อไปนี้

  1. พื้นที่ปลูกยางพาราไม,ควรน้อยกว่า 7 ไร่ และใส่ปุยในช่วงฤดูฝนปีละ 2 ครั้ง คือ ต้นฤดูฝน และปลายฤดูฝน เพราะดินมิความชุ่มช่นเพียงพอ
  2. ปุยที่ให้ก้บต้นยางพารา เป็นปุยเคมีชนิดเม็ด มีธาตุหลัก 3 ธาตุ คือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเiยม และมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 2.5-3 มิลลิเมตร
  3. เครื่องโรยปุยยางพาราต้นแบบ มิส่วนประกอบที่สำค่ญ คือโครงเครื่อง ถังบรรจุปุย ชุดโรยปุย ชุดเปีดและกลบร่องดิน และชุดปรับตั้งความลึกของร่องที่เปีด
  4. การประเมินผลเครื่องโรยปุยยางพาราต้นแบบ ที่ความเร็วรอบเครื่องยนต์ 700 รอบต่อนาที ตำแหน่งเกียร์ 1 และผานจานเปีดร่องทำมุม 30 องศาถับทีศทางการเคลื่อนที่

จากการทดสอบพบว่าได้ความลึกเฉลี่ยของการเปิดร่อง เท่ากับ 52.3 มิลลิเมตร ประสิทธิภาพ ของการโรยปุย เท่ากับ 97 เปอร์เซ็นต์ ประสิทธิภาพของการกลบปุย เท่ากับ 98.939 เปอร์เซ็นต์ อัตรา การสิ้นเปลืองนํ้ามันเช่อเพลิง 8 ไร่ต่อลิตร และความสามารถในการทำงานเท่ากับ 5 ไร่ต่อชั่วโมง

เมือพิจารณาประสิทธิภาพ และความสามารถในการทำงานของเครื่องโรยปุย ยางพาราเปรียบ เทียบกับปริมาณปุยที่ใช้กับยางพาราและพื้นที่เพาะปลูกแล้ว ฟ้,ห้ เห็นว่า เครื่องโรยปุยยางพารา

ต้นแบบมีประสิทธิภาพสูงสามารถใส่ปุยได้ตามความต้องการ และลดเวลาในการใส่ ปุยยางพาราได้เป็น อย่างดี ดู่งมีแนวโน้มพัฒนาให้เป็นประโยชน์เ?งพาณิชย์ได้

คำสำค้ญ : ยางพารา; เครื่องโรยปุย

Abstract

This research study aims to design, build and evaluate a Para Rubber Fertilizer Distributor. It also includes the study of the properties of the para rubber and chemical fertilizer consumption inorder design and build the prototype machine in the test and determination part. Varying the speed of the machine and varying of the angle opening-canal disc plow were conducted in the study which the important indexes are the depth of opening-canal in millimeter, the percentage of scattering and filling fertilizer efficiency and the ability of prototype machine in rai per hour. The conditions of studying were found as follow.

1)   The planting area of para rubber should not be less than 7 rai with a double time of fertilization in the beginning and the end of rainy season, because during this time the soil will have proper moisture suitable for fertilization.

2)   The fertilizer was the pellet chemical substance which contains the composition of Nitrogen, Phosphorous and Potassium, and it has a 2.5-3 millimeter in diameter.

3)  The prototype machine consists of frame, fertilizerhopper, scatter set and opening and filling set and opening-canal depth adjustable set.

4)  The evaluation of the prototype Para Rubber Fertilizer Distributor when opening-canal disc angle is 30 degree of direction, and engine speed is 700 revolutions per minute at first gear.

It was found that the average depth of opening-canal was 52.3 millimeter, the percentages of scattering and filling fertilizer are 97 and 98.939 respectively, the rate of fuel consumption is 8 rai per litre and the ability of prototype machine was 5 rai per hour. The efficiency and the ability of the machine when compared with the amount of fertilizer and planning area, they indicated that the prototype machine had high efficiency of fertilizer consumption. Furthermore, it could save time, hence this research study recommends to expand it at a commercial scale.

Keywords : Para Rubber; Fertilizer Distributor

Article Details

How to Cite
[1]
คธาพนธ์ ม., “การพัฒนาเครื่องโรยปุ๋ยยางพารา The Development of ล Para Rubber Fertilizer Distributer”, RMUTI Journal, vol. 2, no. 1, pp. 27–38, Jan. 2014.
Section
Research article