ประสิทธิภาพของปุ๋ยหมักจากไส้เดือนดินร่วมกับหัวเสัอปุ๋ยหมัก
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
การศึกษาประสิทธิภาพของปุ๋ยหมักจากไส้เดือนดินร่วมกับหัวเชื้อปุ๋ยหมักเปีนการนำขยะอินทรีย์ที่คัดแยก จากครัวเรือนและพื้นที่การเกษตรกลับมาใช้เพื่อผลิตปุ๋ยหมักโดยใช้ไส้เดือนดินสายพันธุ์ Pheretima sp. ร่วมกับหัวเชื้อปุ๋ยหมัก (พด.1) เป็นตัวช่วยในการเร่งปฏิกิริยาการหมัก มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) เพื่อศึกษา คุณสมบัติเคมีและปริมาณธาตุอาหารพืชในปุยหมักที่ได้ 2.) ทดสอบประสิทธิภาพของปุยหมักต่อการเจริญ เติบโตของพืชในพื้นที่เกษตรกร
ผลการศึกษา พบว่า ลักษณะทางเคมีและปริมาณธาตุอาหารพืชที่ได้มีความแตกต่างกันตามชนิด ของขยะชุมชนที่ใช้ ประสิทธิภาพของปุยหมักที่ผลิตได้ต่อการเจริญเติบโตของผักคะน้าในแปลงปลูก พบว่า มีความแตกต่างกันโดยแปลงปลูกที่ใส่ปุ๋ยหมักที่ผลิตได้ผสมกับปุ๋ยหมักทางการค้ามีความสูงเฉลย และจำนวนใบเฉลี่ยสูงสุดหลังจากย้ายปลูกในแปลง 25 วัน โดยมีความสูงเฉลี่ย 15.05 เซนติเมตร และจำนวนใบเฉลี่ย 10.14ใบ
คำสำคัญ : ขยะชุมชน, ไส้เดือนดิน, หัวเสัอป้ยหมัก
Abstract
The community waste disposal used vermicompost with leavening is the implementation of the separation of organic waste from household and agricultural areas to produce compost useing earthworm Pheretima sp. with compost leavening (Pd. 1) as a catalyst to help the fermentation. The purposes of this study were as follows ะ 1. To study the chemical properties and element in fertilizer. 2.Test the effectiveness of fertilizer to grow crops in the farm.The results showed that at 60 days chemical properties and element in fertilizer varied according to different types of waste by the community. The effectiveness of fertilizer in kale production in the conversion plant was different. The plant conversion with the compost mixing with commercial compost provides the maximum high, 15.05 cm. and 10.14 leaves after planting in 25 days.
Keywords : Community waste, Earthworm, Compost leavening