การฟฒนาการบริหารจ้ดการโรงเรียนวิถีพุทธระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดสังเวช สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 Development of Buddhism-Oriented School Management for Watsungwej Secondary School under the Bangkok Education Service Area Office 1

Main Article Content

สวัสดิ้ เพชรบูรณ์

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพี่อ

  1. พัฒนารูปแบบการบรหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดสังเวช สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
  2. ตรวจสอบประสิทธิภาพรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้พัฒนา

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ประชากรที่ใซในการวิจัยมี 3 กลุ่ม ตามขั้นตอนการดำเนินการวิจัย คือ

  1. ขั้นตอนการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธระดับมัธยมศึกษาตอนต้น แบ่งย่อย เป็น 2 ขั้นตอน คือ

1.1  ขั้นตอนการปรับปรุงสภาพแวดล้อมและบรรยากาศโรงเรียน ได้แก่ คณะกรรมการสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู และพ่อ แม่หรือผู้ปกครองนักเรียนทุก คนที่ลงทะเบียนเรียนใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

1.2  ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนวิถีพุทธ ระดับมัธยมศึกษาตอน ต้น ได้แก่ ครูโรงเรียน วัดสังเวชที่เลือกแบบเจาะจง จำนวน 9 คน จากครูที่สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดลังเวช ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

  1. ขั้นตอนการตรวจสอบประสิทธิภาพรูปแบบ การบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นที่ได้พัฒนา ได้แก่ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดลังเวชทุกคนที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา ที่ครูอาสาสมัครร่วมโครงการวิจัยพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนวิถีพุทธเป็นครูผู้สอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549 และครูโรงเรียนวัดลังเวชที่เลือกแบบเจาะจง จำนวน 9คน จากครูที่สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนวัดลังเวช ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2549

ผลการวิจัยพบว่า

  1. รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่พัฒนามีองค์ประกอบทีสำคัญ คือ

1.1การปรับปรุงสภาพแวดล้อมและบรรยากาศโรงเรียน

1.2การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนวิถีพุทธและกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่ ต้องการ ปลูกฝังพัฒนาให้เกิดแก่ผู้เรียน ด้วยการสอดแทรกหรือบูรณาการพุทธ ธรรมและคุณลักษณศึกษา (Character Education)

  1. ผลการตรวจสอบประสิทธิภาพรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธระคับมัธยมศึกษา ตอนต้นที่ได้พัฒนาพบว่า

2.1 ผลลัมฤทธิ้ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนวัดลังเวชที่เรียนโดยรูปแบบการ บริหารจัดการ โรงเรียนวิถีพุทธระคับมัธยมศึกษาตอนต้น ก่อนและหลังเรียนมีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.5 นั่นคือ ผลลัมฤทธิ้ทางการเรียนของ นักเรียนโรงเรียนวัดลังเวชที่เรียนโดยใช้รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียน วิถีพุทธ ระคับมัธยมศึกษาตอนต้น หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน

2.2 หลังการใช้รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธระคับมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียน ส่วนมากปฏิบัติได้ตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่กำหนด

2.3  ความพึงพอใจของนักเรียนภายหลังการเรียนตามรูปแบบ การบริหารจัดการ โรงเรียนวิถี พุทธระคับมัธยมศึกษาตอนต้น อยู่ในระคับมากขึ้นไป

2.4  ครูอาสาสมัครร่วมโครงการวิจัยพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนวิถี พุทธระคับ มัธยมศึกษาตอนต้นมีความเห็นว่าหลังการใช้รูปแบบการบริหารจัดการ โรงเรียนวิถีพุทธระคับมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนสามารถนำหลักพุทธธรรมมา ทำให้เถิดความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติตนได้ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำสำคัญ : พุทธธรรม; คุณลักษณศึกษา; การบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ

Abstract

The purposes of this study were

  1. to develop Buddhism-Oriented School Management for Watsungwej Secondary School under the Bangkok Education Service Area Office 1.
  2. to determine its effectiveness of Buddhism-Oriented School ManagementforWatsungwej Secondary School development.

The study is an R&D research. According to the research procedure, the research populations were divided into three groups.

  1. For the procedure of development of Buddhism-Oriented School Management, the re­search populations were divided into two groups.

1.1     For the physical environment and overall atmosphere development procedure, the populations consisted of all the basic-education school boards, teachers, parents or guardians.

1.2        For the Buddhism-Oriented Curriculum development procedure, the populations consisted of nine teachers working at Watsungwej Secondary School in the first semester of the 2006 academic year, selected by purposed random sampling.

2. For the procedure of determining the effectiveness of Buddhism-Oriented School. Man­ agement, the sample consisted of students who studied with teachers participated in this project and nine teachers working at Watsungwej Secondary School in the first semester of the 2006 academic year, selected by purposed random sampling.

Finding from the study showed that:

  1. Components of the Buddhism-Oriented School Management are as follows :

1.1      Physical environment and overall atmosphere development.

1.2      The morals and virtues of Buddhism and the principle of Character Education are integrated in the curriculum;

  1. The results of the implementation of the Buddhism-Oriented School Management are as follows :

2.1      The students’ academic achievement before and after studying the Buddhism- Oriented Curriculum were different at 0.5 level of statistical significance

2.2    After adapting the Buddhism-Oriented School Management, most students’ behavior is right to the designated characteristics.

2.3      The level of students’ satisfaction is high

2.4     The teachers who volunteered in this research believe that the students can apply moral principles to a acquiring knowledge and the designated characteristics.

Keywords: Dhamma; Character Education; Buddhism-Oriented School Management

Article Details

How to Cite
[1]
เพชรบูรณ์ ส., “การฟฒนาการบริหารจ้ดการโรงเรียนวิถีพุทธระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดสังเวช สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 Development of Buddhism-Oriented School Management for Watsungwej Secondary School under the Bangkok Education Service Area Office 1”, RMUTI Journal, vol. 1, no. 1, pp. 82–93, Jan. 2014.
Section
Research article