การวิเคราะห์ลักษณะเสียงโพรงใต้แผ่นกระเบื้องด้วยการแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว

Main Article Content

เพชร์รัตน์ ลิ้มสุปรียารัตน์
ชัยฤกษ์ จักรพัฒนจิต
จันทนา ปัญญาวราภรณ์

บทคัดย่อ

การตรวจเสียงโพรงใต้แผ่นกระเบื้องเป็นขั้นตอนการตรวจสอบคุณภาพงานก่อสร้างที่จำเป็นต้องทำ
เพราะหากเกิดโพรงอาจสง่ ผลตอ่ ความบกพรอ่ ง เชน่ กระเบื้องหลุดลอ่ นหรือแตกหักหากมีวัตถุหลน่ บนผิวหนา้
อาจทำให้เกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บในการใช้งานพื้นที่ การตรวจสอบเสียงโพรงจำเป็นต้องใช้การฟัง
ของผูต้ รวจสอบเพื่อจำแนกลักษณะเสียงซึ่งขาดความเปน็ มาตรฐาน งานวิจัยนี้นำเสนอวิธีการวิเคราะหเ์ สียง
ที่ได้จากการตรวจสอบงานปูกระเบื้องโดยใช้หลักการวิเคราะห์สัญญาณเสียงในโดเมนความถี่เพื่อจำแนก
ลักษณะเสียงทึบและโพรง พื้นที่ปูกระเบื้องที่ใช้ทดสอบถูกจำลองขึ้นในห้องปฏิบัติการสำหรับทำการเคาะ
บนผิวกระเบื้องและจัดเก็บขอ้ มูลเสียงเพื่อนำไปวิเคราะห ์ ผลการวิเคราะหพ์ บวา่ วิธีที่นำเสนอสามารถจำแนก
ลักษณะเสียงทึบและโพรง มีค่าความถูกต้องมากถึง 98.73 % งานวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทาง
ในการพัฒนาการตรวจสอบคุณภาพงานปูกระเบื้องให้เป็นมาตรฐานขึ้น

Article Details

How to Cite
[1]
ลิ้มสุปรียารัตน์ เ., จักรพัฒนจิต ช., และ ปัญญาวราภรณ์ จ., “การวิเคราะห์ลักษณะเสียงโพรงใต้แผ่นกระเบื้องด้วยการแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว”, RMUTI Journal, ปี 11, ฉบับที่ 1, น. 82–93, เม.ย. 2018.
บท
บทความวิจัย

References

[1] Yang, S., Gu, L., and Gibson, R. F. (2001). Nondestructive of Weak Joints in Adhesively Bonded
Composite Structures. Composite Structures. Vol. 51, Issue 1, pp. 63-71. DOI : 10.1016/S0263-8223
(00)00125-2

[2] Sansalone, M. and Carino, N. J. (1989). Detecting Delaminations in Concrete Slabs with and
without Overlays using the Impact-Echo Model. ACI Materials Journal. Vol. 86, No. 2,
pp. 177-184

[3] Mori, K., Spagnoli, A., Murakami, Y., Kondo, G., and Torigoe, I. (2002). A New Non-Contacting
Non-Destructive Testing Method for Defect Detection in Concrete. NDT and E International.
Vol. 35, No. 6, pp. 399-406

[4] Huang, Y. H., Ng, S. P., Liu, L., Li, C. L., Chen, Y. S., and Hung, Y. Y. (2009). NDT&E using
Shearography with Impulsivethermal Stressing and Clustering Phase Extraction. Opticsand
Laser in Engineering. Vol. 47, pp. 774-781

[5] Hung, Y. Y., Chen, Y. S., Ng, S. P., Liu, L., Huang, Y. H., Luk, B. L., Ip, R. W. L., Wu, C. M. L.,
and Chung, P. S. (2009). Review and Comparison of Shearography and Active Thermography
for Nondestructive Evaluation. Materials Science and Engineering R Reports. Vol. 64,
No. 5, pp. 73-112. DOI: 10.1016/j.mser.2008.11.001

[6] Luk, B. L., Liu, K. P., Tong, F., and Man, K. F. (2010). Impact-Acoustics Inspection of Tile-Wall
Bonding Integrity Via Wavelet Transform and Hidden Markov Models. Journal of Sound and
Vibration. Vol. 329, Issue 10, pp. 1954-1967. DOI: 10.1016/j.jsv.2009.11.038

[7] Wu, H. and Siegel, M. (2000). Correlation of Accelerometer and Microphone Data in the Coin
Tap Test. IEEE Transaction on Instrumentation and Measurement. Vol. 49, No. 3, pp. 493-497

[8] Ito, T. and Uomoto, T. (1997). Nondestructive Testing Method of Concrete using Impact
Acoustics. NDT & E International. Vol. 30, Issue 4, pp. 217-222. DOI: 10.1016/S0963-8695
(96)00059-X

[9] Asano, M., Kamada, T., Kunieda, M., and Rokugo, K. (2003). Impact Acoustics Methods
for Defect Evaluation in Concrete. In Proceedings of Nondestructive testing - Civil Engineering
2003. DOI: 10.1016/j.jsv.2005.11.017

[10] Tong, F., Xu, X. M., Luk, B. L., and Liu, K. P. (2008). Evaluation of Tile - Wall Bonding Integrity
Based on Impact Acoustics and Support Vector Machine. Sensors and Actuators A: Physical.
Vol. 144, pp. 97-104. DOI: 10.1016/j.sna.2008.01.020