6 Sustainables-4 Changes: ประเด็นท้าทายสำหรับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางสังคมผู้สูงอายุระดับสมบูรณ์

Main Article Content

ชญานิศ ลือวานิช

Abstract

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสมบูรณ์ การรองรับสังคมผู้สูงอายุจำเป็นที่ต้องอาศัยการบูรณาการศาสตร์หลากหลายสาขาและการปฏิบัติของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและไม่ปฏิบัติงานซ้ำซ้อน โดยให้คนทุกวัยมีคุณภาพชีวิตที่ดีในสังคมผู้สูงอายุ และเป็นการเตรียมความพร้อมคนรุ่นใหม่ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพฤฒพลัง  6 Sustainables-4 Changes จึงเป็นมาตรการสำคัญที่กำหนดทิศทางให้หน่วยงานและภาคส่วนต่าง ๆ สามารถทราบเป้าหมายและทิศทางของประเทศในการขับเคลื่อนสังคมผู้สูงอายุเป็นระเบียบวาระแห่งชาติอย่างเป็นรูปธรรมและบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ เพื่อให้มหาวิทยาลัยสามารถปรับการเรียนการสอนและผลิตบุคลากรที่สอดคล้องกับสังคมผู้สูงอายุระดับสมบูรณ์

Article Details

How to Cite
ลือวานิช ช. (2020). 6 Sustainables-4 Changes: ประเด็นท้าทายสำหรับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางสังคมผู้สูงอายุระดับสมบูรณ์. PKRU SciTech Journal, 3(2), 27–36. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/pkruscitech/article/view/213110
Section
Review Articles

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2562). มาตรการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติ เรื่องสังคมผู้สูงอายุ (ฉบับปรับปรุง, พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิซซิ่ง จำกัด (มหาชน).

WHO. (2002). Active ageing: A policy framework. Genava: Noncommunicable Disease Prevention and Health Promotion Ageing and Life Course.

จ้างงานผู้สูงอายุสร้างคุณค่าผู้สูงอายุ. (2562). สืบค้นจาก https://www. thairath.co.th/ news/local/1528826 (25 สิงหาคม 2562).

ประเสริฐ อัสสันตชัย. (2562). แนวโน้มของนวัตกรรมสำหรับผู้สูงอายุและภาวะสุขภาพ (หน้า 3 - 16). ใน วีรศักดิ์ เมืองไพศาล. นวัตกรรมทางสุขภาพและสังคมสำหรับประชากรผู้สูงอายุ. นนทบุรี: ภาพพิมพ์จำกัด.

ไตรรัตน์ จารุทัศน์. (2562). การออกแบบเพื่อทุกคนสำหรับบ้านและพื้นที่สาธารณะ (หน้า 33 - 59). ใน วีรศักดิ์ เมืองไพศาล. นวัตกรรมทางสุขภาพและสังคมสำหรับประชากรผู้สูงอายุ. นนทบุรี: ภาพพิมพ์จำกัด.

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2561). นวัตกรรมผู้สูงอายุไทยเพื่อยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตสู่ไทยแลนด์ 4.0 สืบค้นจาก http://www.dop.go.th/th/gallery/1/1478 (23 สิงหาคม 2562).

NSW. (2019). The principles of universal design: Information sheet. Retrieved from http://www. lgnsw.org.au/.../ information- sheet-the-principles-ofuniversal-de. (August 19, 2019).

สสส. (2561). สสส.จับมือ 5 มหา'ลัย หนุนตั้งศูนย์ออกแบบสภาพแวดล้อม รับมือสังคมสูงวัย. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/ 1245752 (23 สิงหาคม 2562).

กองส่งเสริมสวัสดิการและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ. (2562). แนวทางการดำเนินงานธนาคารเวลาแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

มหาวิทยาลัยรังสิต. (2562). ม.รังสิตมุ่งผลิตบัณฑิตเป็นนัก Startup พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมรองรับสังคมผู้สูงอายุไทย. สืบค้นจาก hhtp:// lifestyle 224.com/content/13008/มรังสิตมุ่งผลิตบัณฑิตเป็นนัก Startup พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมรองรับสังคมผู้สูงอายุไทย (22 ตุลาคม 2562).