การจัดกลุ่มผู้บริโภคโดยใช้พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อการส่งเสริมการขาย

Main Article Content

นีลวัจน์ บูรณปรีชา
นิเวศ จิระวิชิตชัย

Abstract

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดกลุ่มผู้บริโภคโดยศึกษาจากพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อการส่งเสริมการขาย งานวิจัยเชิงทดลองนี้ใช้เทคนิค เคมีน คลัสเตอร์ในการจัดกลุ่มโดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,000 ราย ผลการศึกษาพบว่าสามารถจัดกลุ่มลูกค้าได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ คือ กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการเครือข่ายที่มากที่สุดในจำนวนกลุ่มลูกค้าทั้งหมด และมีค่าใช้จ่ายบริการมากที่สุด กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการเครือข่ายระดับปานกลาง และชื่นชอบใช้บริการทางโทรศัพท์ที่หลากหลาย และกลุ่มสุดท้ายคือกลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่ไม่ค่อยได้ใช้บริการเครือข่ายหรือเลือกใช้บริการใด ๆ ปัจจัยสำคัญดังกล่าวสามารถนำมา
ใช้ในการกำหนดแนวทางและกลยุทธ์ในการทำรายการส่งเสริมการขายของผู้ให้บริการเครือข่าย

Article Details

How to Cite
บูรณปรีชา น., & จิระวิชิตชัย น. (2020). การจัดกลุ่มผู้บริโภคโดยใช้พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถือเพื่อการส่งเสริมการขาย. PKRU SciTech Journal, 3(1), 15–22. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/pkruscitech/article/view/204387
Section
Research Articles

References

Tsai, C. F., Tsai, C. T., Hung, C. S., & Hwang, P. S. (2011). Data Mining Techniques for Identifying Students at Risk of Failing a Computer Proficiency Test Required for Graduation. Australasian Journal of Educational Technology, 27(3), 481–498.

Han, J., & Kamber, M. (2006). Data Mining Concepts and Techniques Second Edition. USA: Morgan Kaufmann Publishers.

Wagstaff, K., Cardie, C., Rogers, S., & Schrodl, S. (2001). Constrained K-means Clustering with Background Knowedge (pp. 577–584). In Proceedings of the Eighteenth International Conference

on Machine Learning. San Francisco, USA.

Chirawichitchai, N. (2009). An Experimental Study on Feature Reduction Techniques and Classification Algorithms of Thai Documents. Journal of Science Ladkrabang, 18(2), 11-24.

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2552). การวิเคราะห์ข้อมูลหลายตัวแปร (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาสถิติคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุหงา ชัยสุวรรณ. (2561). การจัดกลุ่มและหาคุณลักษณะของกลุ่มดิจิทัลอิมมิแกรนท์ตามพฤติกรรมการสื่อสารในบริบทออนไลน์และปัญหาทางความสัมพันธ์กับสังคม. วารสารพัฒนาบริหารศาสตร์, 58(1), 54-73.

ปราลี มณีรัตน์. (2554). การสร้างโมเดลการจัดการระบบนักศึกษาสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคเหมืองข้อมูล. รายงานการวิจัย คณะเทคโนโลยสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศีรปทุม.

อรนุช ชัยหมื่น (2548). การศึกษาเปรียบเทียบแบ่งกลุ่มข้อมูลลูกค้าสินค้าหัต ถกรรมไทยโดยวิธีขั้นตอนของ SOM กับ K-Means Algorithm และ Hierarchical Clustering and K-Means Algorithm. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.