การแบ่งกลุ่มลูกค้าโดยใช้เทคนิคการทำคลัสเตอร์แบบเคมีน สำหรับการบริหารลูกค้าสัมพันธ์

Main Article Content

วณิชา แผลงรักษา
นิเวศ จิระวิชิตชัย

Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการแบ่งกลุ่มลูกค้าโดยใช้เทคนิคการทำคลัสเตอร์แบบเคมีนสำหรับการบริหารลูกค้าสัมพันธ์โดยทดสอบกับระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะลูกค้าของผู้จัดจำหน่ายสินค้าออนไลน์แห่งหนึ่ง โดยพิจารณาจากคำสั่งซื้อสินค้าของลูกค้าทั้งหมดจำนวน 1,000 คน เพื่อนำมาวิเคราะห์การแบ่งกลุ่มคลัสเตอร์ด้วยเคมีน อาทิ ข้อมูลสถานภาพ ข้อมูลเพศ ข้อมูลรายได้ต่อเดือน จำนวนบุตร การสำเร็จการศึกษา อาชีพ ระยะทางระหว่างที่พัก-ที่ทำงาน ภูมิลำเนาและจำนวนรถที่เป็นเจ้าของนำวิเคราะห์ลักษณะทางประชากรศาสตร์ ผลจากการทดลองโดยใช้เทคนิคการทำคลัสเตอร์แบบเคมีน พบว่าสามารถแบ่งกลุ่มลูกค้าที่มีคุณลักษณะเหมือนกันไว้อยู่ในกลุ่มเดียวกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถนำไปใช้เพื่อการส่งเสริมการขายได้ตรงกลุ่มเป้าหมายได้เป็นอย่างดี

Article Details

How to Cite
แผลงรักษา ว., & จิระวิชิตชัย น. (2020). การแบ่งกลุ่มลูกค้าโดยใช้เทคนิคการทำคลัสเตอร์แบบเคมีน สำหรับการบริหารลูกค้าสัมพันธ์. PKRU SciTech Journal, 3(2), 1–10. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/pkruscitech/article/view/203472
Section
Research Articles

References

พลอย แย้มเสนาะ. (2552). กลยุทธ์การตลาด. กรุงเทพฯ: ภาควิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา.

โกศล พรประสิทธิ์เวช. (2552). สร้างยอดขายอันดับ 1 ด้วย Prosoft CRM. กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์ดี จำกัด.

Fayyad, U., Piatetsky-Shapiro, G., & Smyth, P. (1996). Knowledge Discovery and Data Mining: Towards a Unifying Framework (pp. 82-88). In KDD-96 Proceedings.

วิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2551). ผลกระทบของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ต่อความจงรักภักดีของลูกค้าของธุรกิจพาณิชย์เล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Zeithaml, V. A., & Bitner, M. J. (2000). Services marketing: integrating customer focus across the firm (2nd ed). Boston: Irwin/McGraw–Hill.

ปัทมา เที่ยงสมบุญ, และนิเวศ จิระวิชิตชัย. (2561). การพัฒนาระบบธุรกิจอัจฉริยะเพื่อสนับสนุนการพยากรณ์และการตัดสินใจของผู้บริหาร กรณีศึกษากลุ่มโรงพยาบาล. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 5(4), 16-30.

ณัฏญาพร ชื่นมัจฉา, และนิเวศ จิระวิชิตชัย. (2559). การหากฎความสัมพันธ์จากฐานข้อมูลการซื้อสินค้าของลูกค้าโดยใช้เทคนิค เอฟพี-กโรธ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรี, 6(1), 122-131.

Berson A., Smith, S., & Thearling, K. (1999). Building data mining applications for CRM. USA: McGraw-Hill.

วิภาวรรณ บัวทอง. (2559). การทำเหมืองข้อมูล. ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

MacQueen, J. B. (1967). Some Methods for classification and Analysis of Multivariate Observations (pp. 281-297). In 5th Berkeley Symposium on Mathematical Statistics and Probability. California: University of California Press.

AdventureWorks sampledatabases. (2017). [Online], Retrieved from https://github.com/Microsoft/sql-server-samples/releases/tag/adventureworks.

(15 February 2014).

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2552). การวิเคราะห์ข้อมูลหลายตัวแปร (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

อิสริย ตรีประเสริฐ. (2559). ปัจจัยคุณค่าตราสินค้า พฤติกรรมการแบ่งปันความรู้ และนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อรถจักรยานของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระ). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ศศินิภา ทิวาลัย. (2555). การวัดประสิทธิผลด้านการให้บริการของระบบการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ออนไลน์ของธุรกิจโรงแรมโดยการใช้แบบจำลองของดีลอนแอนด์แม็คคลีนและอีเมตริก. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร, 7(1), 89-101.

ธีรัตว์ รุ่งเรือง. (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการซื้อจักรยานปั่น เพื่อสุขภาพในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (การค้นคว้าอิสระ). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.