การพัฒนาต้นแบบระบบพร้อมชุดอุปกรณ์ติดตามรถขนส่งพัสดุแบบเรียลไทม์โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

Main Article Content

สกรณ์ บุษบง
ณัฐพล จั้นพลแสน
ศุภกร ชาติชัย

Abstract

การวิจัยเรื่องการพัฒนาต้นแบบระบบพร้อมชุดอุปกรณ์ติดตามรถขนส่งพัสดุแบบเรียลไทม์โดยใช้อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง มีวัตถุประสงค์ 2 ส่วน คือ 1) เพื่อพัฒนาชุดอุปกรณ์ติดตามพัสดุแบบเรียลไทม์ผ่านเว็บแอพพลิเคชั่น 2) เพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานของระบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ใช้งาน โดยระบบแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ ส่วนของชุดอุปกรณ์และส่วนของเว็บแอพพลิเคชั่น ส่วนของอุปกรณ์ทำหน้าที่ส่งข้อมูลตำแหน่งละติจูด ลองจิจูด ความเร็วการเคลื่อนที่และข้อมูลพัสดุไปยัง Firebase Real-time Database และ NETPIE Cloud Platform ใช้เว็บแอพพลิเคชั่นในการจัดการข้อมูล Firebase Real-time Database จากการประเมินผลความพึงพอใจจากผู้ใช้งาน 40 คน และผู้เชี่ยวชาญทางด้านโลจิสติกส์ 2 คน พบว่าโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยที่ 4.68 อยู่ในเกณฑ์มากที่สุด

Article Details

How to Cite
บุษบง ส., จั้นพลแสน ณ., & ชาติชัย ศ. (2020). การพัฒนาต้นแบบระบบพร้อมชุดอุปกรณ์ติดตามรถขนส่งพัสดุแบบเรียลไทม์โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง. PKRU SciTech Journal, 3(2), 20–26. retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/pkruscitech/article/view/202712
Section
Research Articles

References

วุฒิศักดิ์ กัลปดี, วรวิทย์ ประสิทธิ์ผล, และวิสูตร ลู่โรจน์เรือง. (2556). การศึกษาปัญหาความล่าช้ามีผลต่อการจัดการประสิทธิภาพ การขนส่งไปรษณีย์ด่วนพิเศษ (EMS) ของที่ทำการ ไปรษณีย์ลูกข่าย ศูนย์ไปรษณีย์ศรีราชา บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 4(1), 418-158.

สุวิทย์ ภูมิฤทธิกุล, และปานวิทย์ ธุวะนุติ. (2559). Internet of Thing เพื่อการเผ้าระวังและเตือนภัยต่อสุขภาพของมนุษย์และการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้โดยใช้โปรแกรม Hadoop. วารสารวิชาการปทุมวัน, 6(15), 61-72.

ญาณกร ธัญญางค์. (2559). ระบบการเชื่อมต่ออุปกรณ์ไอโอทีสําหรับระบบการเกษตร (โครงงานวิศวกรรม ปริญญาวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

โอฬาร เชี่ยวชาญ, และอนุกิจ เสาร์แก้ว. (2560). การบูรณาการประยุกต์ใช้ RFID (Radio Frequency Identification) และ iOT (Internet of thing) ผ่านระบบคลาวด์ (Cloud Computing). Industrial Technology Lampang Rajabhat University Journal, 10(2), 109-119.

Hari, S. S., & Uma, S. S. (2017). Study on Google Firebase for Website Development (The real time database). International Journal of Engineering Technology Science and Research, 4(3), 364-367.

Wu-Jeng, L., Chiaming, Y., You-Sheng, L., Shu-Chu, T., & ShihMiao, H. JustIoT Internet of Things based on the Firebase real-time database (pp. 43-47). In Proceedings of the 2018 International Conference on Smart Manufacturing Intelligence. Taiwan.

NETPIE. [Online], Retrieved from https://netpie.io. (September 30, 2019).

ธงชัย แก้วกิริยา. (2557). การควบคุมและติดตามยานพาหนะด้วยระบบ GPS โดยใช้โทรศัพท์มือถือผ่านเครือข่าย GPRS/3G. วารสารร่มพฤกษ์, 32(2), 85-102.

Jianpei, S., Liqiang, Z., & Daohan, G. (2018). Remote Intelligent Position-Tracking and Control System with MCU/GSM/GPS/IoT (pp. 66-70). In Proceedings of the 2018 International Conference on Computing and Artificial Intelligence. Chengdu, China.

จิรวัฒน์ แท่นทอง, สุภลักษณ์ ตาแก้ว, และกนกลักษณ์ ศรพระขรรค์ชัย. (2562). การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันสาหรับควบคุมเครื่องให้อาหารสัตว์เลี้ยงด้วยการประยุกต์ใช้บอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง. Journal of Information Science and Technology, 9(1), 28-40.

ไพวรรณ มะละ, ปราลี มณีรัตน์, สุขสวัสดี ณัฏฐวุฒิสิทธิ์, และสุรชัย ทองแก้ว. (2561). การพัฒนาระบบวิเคราะห์ข้อมูลเตียงลมอัจฉริยะเพื่อลดอาการเกิดโรคแผลกดทับ. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 10, 88-101.

ณัฐพัชญ์ ศรีราจันทร์, และภีมวัจน์ วรรณทวี. (2562). การพัฒนาระบบแจ้งเตือนการโจรกรรมด้วยเซนเซอร์การตรวจจับการสั่นสะเทือนบนเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 6(4). 30-44.

กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์. (2561). การพัฒนาต้นแบบระบบอ่านข้อมูลระยะใกล้เพื่อติดตามคุณภาพน้ำในมหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 27(2), 238-251.

ทิพานัน พงษ์สุวรรณ, อนุพงษ์ ติตะ, และภานุวัตร อุทัยบาล. (2562). ระบบติดตามถังขยะอัจฉริยะ. PULINET Journal, 6(2), 41-50.

Nicolas, V., Camilo, M., Diego, C., Juan, C. A., & Diego, M. (2017). Design and Development of an IoT System Prototype for Outdoor Tracking (pp. 1-6). In Proceedings of the 2017 International Conference on Future Networks and Distributed Systems. UK.