ภาวะเสี่ยงต่อการหกล้มของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุในจังหวัดภูเก็ต

Main Article Content

ชญานิศ ลือวานิช
นิศากร ตันติวิบูลชัย

Abstract

            การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะเสี่ยงต่อการหกล้มของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จังหวัดภูเก็ต เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุด้วยการสนทนากลุ่มจากผู้สูงอายุในชมรมจำนวน 15 คน ร่วมกับประเมินภาวะเสี่ยงต่อการหกล้มจากกลุ่มตัวอย่าง 253 คน ผลการวิจัยเชิงคุณภาพวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยเชิงปริมาณวิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน  ผลการวิจัยพบว่าผู้สูงอายุเพศหญิงมีความเสี่ยงต่อการหกล้มมากว่าเพศชาย ช่วงอายุ 60-69 ปีมีความเสี่ยงต่อการหกล้มต่ำกว่ากลุ่มอายุ 70-79 ปี และ 80 ปีขึ้นไป ผู้สูงอายุมีประวัติการหกล้มใน 1 ปีที่ผ่านมาเฉลี่ย 2.05 ครั้ง (S.D = 1.36) กลุ่มตัวอย่างหกล้มนอกบ้านสูงกว่าหกล้มในบ้าน อายุ จำนวนโรคประจำตัวมีความสัมพันธ์ต่อการหกล้มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และจำนวนชนิดยาที่ใช้มีความสัมพันธ์ต่อการหกล้มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

How to Cite
ลือวานิช ช., & ตันติวิบูลชัย น. (2018). ภาวะเสี่ยงต่อการหกล้มของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุในจังหวัดภูเก็ต. PKRU SciTech Journal, 1(2), 1–11. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/pkruscitech/article/view/152726
Section
Research Articles

References

[1] Touhy, T.A. (2008). Mobility. In P. Embersole,P. Hess, T.A. Touhy, K. Jett, & A.S. Luggen. Toward healthy aging: Human needs & nursing response. (pp. 370 - 408). 7 th edition. Missouri: Mosby Elevier.
[2] WHO. (2015). World report on aging and health. Luxembcury: WHO Press.
[3] ปราโมทย์ ปร ะสาทกุล. (2558). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชซิ่ง จำกัด (มหาชน).
[4] วิชัย เอกพลากร, (บก.). (2557). รายงานการสำรวจ สุภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: อักษรกราฟิกแอนด์ดีไชน์.
[5] สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์. (2558). สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
[6] นิพา ศรีช้าง และ ลวิตรา กำวี. (2560). รายงานการพยากรณ์การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีข้นึ ไป) ในประเทศไทย. สืบค้น 3 ธันวาคม 2560, จาก www.thaincd.com/.../ การพยากรณ์ การหกล้มในผู้สูงอายุ.
[7] สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ, สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ. (2555). ทำเนียบองค์กรชมรมด้านผู้สูงอายุ พ.ศ. 2555 ภาคใต้. กรุงเทพ ฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
[8] สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. (2551). แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกัน ประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: ซีจีทูล จำกัด.
[9] Newton, R.A. (2001). Validity of the multi-directional reach test: A practical measure for limits of stability in older adults. Journal of Gerontology Medical Science, 56A(4), M248-M252.
[10] Berg, K., Wood-Dauphinee, S., Williams, J.J. & Gayton, D. (1989). Measuring balance in the elderly: Preliminary development of an instrument. Physiotherapy Canada, 41(6), 304 – 311.
[11] Conradsson, M., Lundin-Olsson, L., Lindelöf, N., Littbrand, H., Malmqvist, L., Gustafson, Y., & Rosendahl, E. (2007). Berg balance scale: Intrarater testretest reliability among older people dependent in activities of daily living in residential care facilities. Physical Therapy, 87(9), 1155 – 1163.
[12] Thorbahn, L.D.B. & Newton, R.A. (2012). Use of the Berg balance scale test to predict falls in elderly persons. Journal of the American Physical Therapy Association, 76, 576 – 583.
[13] วรรณพร บุญเปล่ง, วถีรัตน์ ศรีวง์วรรณ และพัฒนา เศรษฐวัชราวณิช. (2558). อัตราและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการหกล้มของผู้สูงอายุ: ชุมชนริมแม่น้ำเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี. วารสารพยาบาลศาสตร์, 33(3), 74 - 86.
[14] สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ. (2559). แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อิสออกัส จำกัด.
[15] Kelsey, J.L. RT AL. (2010). Indoor and outdoor falls in older adults are different: The MOBILIZE Boston study. J Am Geriatr Soc, 58(11), 2135 – 214.
[16] วิชัย เอกพลากร. (2551). การหกล้มในผู้สูงอายุ.สืบค้น 10 ตุลาคม 2555 จาก https://www. hisro. or.th/main?.
[17] Fabre, J.M., Ellis, R., Kosma, M. & Wood, R.H. (2010). Fall risk factors and a compendium of falls risk screening instrument. J Geriatr Phys Ther, 33(4), 184 - 197.
[18] WHO (2007). WHO global report on falls prevention in older age. Geneva: Ageing and life course.
[19] Woolcott, J.C. et al. (2009). Metaanalysis of the impact 9 medication classes on falls in elderly persons. Arch Intern Med, 169(21), 1952 – 1960.
[20] วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ. (2560). การดูแลสูงอายุที่มีภาวะหกล้ม. ใน วีรศักดิ์ เมืองไพศาล (บรรณาธิการ). พฤฒนาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุสำหรับการดูแลผู้ป่วยสูงอายขั้นต้น. หน้า 311 – 322. นนทบุรี: ภาพพิมพ์.
[21] ศกุลตลา อนุเรือง. (2560). ภาวะโรค เรื้อรังร่วมหลายโรคในผู้สูงอายุ: สถานการณ์ประเด็นท้าทายและการจัดการดูแล. วารสารพยาบาลศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 29(2), 1 - 14.
[22] Scllittom M. (2017). 7 things that cause the elderly to fall. Retrieved November 30, 2017 from www.agingcare.com/articles/fails-in-elderly-people-133953htm.