การพัฒนาคอนกรีตประสิทธิภาพสูงสำหรับกำแพงป้องกันกระสุน

Main Article Content

Phongthorn Julphunthong

Abstract

งานวิจัยนี้มุ่งพัฒนาคอนกรีตประสิทธิภาพสูงเพื่อใช้ป้องกันกระสุน โดยสนใจความสามารถในการดูดซับพลังงานจลน์ของคอนกรีตปกติ (NC) คอนกรีตกำลังสูง (HSC) คอนกรีตผสมเส้นใยพอลิเมอร์ (PFRC) และคอนกรีตผสมเส้นใยเหล็ก (SFRC) ในการศึกษาจะหล่อแผ่นคอนกรีตขนาด 40x40 เซนติเมตร ที่ความหนา 5, 7.5 และ 10 เซนติเมตร แล้วใช้กระสุนขนาด 7.62 มิลลิเมตร ยิงแผ่นคอนกรีต โดยวัดความเร็วของกระสุนปืนก่อนและหลังกระแทกแผ่นคอนกรีต รวมไปถึงพิจารณารูปแบบการวิบัติที่เกิดขึ้น ผลการทดสอบพบว่า คอนกรีตกำลังสูงมีความสามารถในการดูดซับพลังงานจลน์ของกระสุนได้ดี แต่เกิดการเสียหายค่อนข้างมาก โดยผนังที่มีความหนา 5 เซนติเมตร มีประสิทธิภาพในการดูดซับพลังงานจลน์เทียบเท่ากับคอนกรีต NC และ PFRC ที่ความหนา 7.5 เซนติเมตร ส่วนคอนกรีตที่ใช้เส้นใยเหล็กในส่วนผสมช่วยให้คอนกรีตมีความเหนียวเพิ่มมากขึ้นและป้องกันแรงกระแทกจากกระสุนได้ดี โดยผิวคอนกรีตเกิดการหลุดล่อนเป็นบางส่วนงานวิจัยนี้มุ่งพัฒนาคอนกรีตประสิทธิภาพสูงเพื่อใช้ป้องกันกระสุน โดยสนใจความสามารถในการดูดซับพลังงานจลน์ของคอนกรีตปกติ (NC) คอนกรีตกำลังสูง (HSC) คอนกรีตผสมเส้นใยพอลิเมอร์ (PFRC) และคอนกรีตผสมเส้นใยเหล็ก (SFRC) ในการศึกษาจะหล่อแผ่นคอนกรีตขนาด 40x40 เซนติเมตร ที่ความหนา 5, 7.5 และ 10 เซนติเมตร แล้วใช้กระสุนขนาด 7.62 มิลลิเมตร ยิงแผ่นคอนกรีต โดยวัดความเร็วของกระสุนปืนก่อนและหลังกระแทกแผ่นคอนกรีต รวมไปถึงพิจารณารูปแบบการวิบัติที่เกิดขึ้น ผลการทดสอบพบว่า คอนกรีตกำลังสูงมีความสามารถในการดูดซับพลังงานจลน์ของกระสุนได้ดี แต่เกิดการเสียหายค่อนข้างมาก โดยผนังที่มีความหนา 5 เซนติเมตร มีประสิทธิภาพในการดูดซับพลังงานจลน์เทียบเท่ากับคอนกรีต NC และ PFRC ที่ความหนา 7.5 เซนติเมตร ส่วนคอนกรีตที่ใช้เส้นใยเหล็กในส่วนผสมช่วยให้คอนกรีตมีความเหนียวเพิ่มมากขึ้นและป้องกันแรงกระแทกจากกระสุนได้ดี โดยผิวคอนกรีตเกิดการหลุดล่อนเป็นบางส่วน

Article Details

How to Cite
Julphunthong, P. (2016). การพัฒนาคอนกรีตประสิทธิภาพสูงสำหรับกำแพงป้องกันกระสุน. Naresuan University Engineering Journal, 11(1), 15–22. https://doi.org/10.14456/nuej.2016.13
Section
Research Paper
Author Biography

Phongthorn Julphunthong, Department of Civil Engineering Faculty of Engineering Naresuan University

Department of Civil Engineering Faculty of Engineering Naresuan University

References

รุ่งรวี เฉลิมศรีภิญโญรัช และกองบรรณาธิการโรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้. 2555. ถอดความคิดขบวนการเอกราช ปาตานี. ค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2556, โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ ศูนย์เฝ้าระวัง

สถานการณ์ภาคใต้ เว็บไซต์: http://www.deepsouthwatch.org/dsj/3676

Hui Yang, Hengwen Song and Shi Zhang, Experimental investigation of the behavior of aramid fiber reinforced polymer confined concrete subjected to high strain-rate compression, Construction and Building Materials, 95 (2015) 143-151.

M.G. Alberti, A. Enfedaque and J.C. Gálvez, Comparison between polyolefin fibre reinforced vibrated conventional concrete and self-compacting concrete, Construction and Building Materials, 85 (2015) 182-194.

Halit Cenan Mertol, Eray Baran and Hussain Jibril Belloa, Flexural behavior of lightly and heavily reinforced steel fiber concrete beams, Construction and Building Materials, 98 (2015) 185-193.

Ziaaddin Zamanzadeh, Lúcio Lourenço and Joaquim Barros, Recycled steel fibre reinforced concrete failing in bending and in shear, Construction and Building Materials, 85 (2015) 195-207.

N. Banthia, M. Sappakittipakorn, Toughness enhancement in steel fiber reinforced concrete through fiber hybridization, Cement and Concrete Research, 37 (2007) 1366–1372.

S.T. Tassew, A.S. Lubell, Mechanical properties of glass fiber reinforced ceramic concrete, Construction and Building Materials, 51 (2014) 215–224.

P. Sukontasukkul, S. Jamnam, K. Rodsin and N. Banthia, Use of rubberized concrete as a cushion layer in bulletproof fiber reinforced concrete panels, Construction and Building Materials, 41 (2013) 801–811.

Ballistic Resistance of Body Armor NIJ Standard-0101.06, National Institute of Justice, U.S. Department of Justice Office of Justice Programs, July 2008.

Standard Specification for Fiber-Reinforced Concrete and Shotcrete, ASTM C 1116-91, ASTM, West Conshohocken, Pa., 1991.

Standard Specification for Steel Fibers for Fiber-Reinforced Concrete, ASTM A820 / A820M - 11, ASTM, West Conshohocken, Pa., 1991.,

Standard Specification for Concrete Aggregates, ASTM C33/ C33M-13, ASTM, West Conshohocken, Pa., 1991.

N. Flores Medina, G. Barluenga and F. Hernández-Olivares, Enhancement of durability of concrete composites containing natural pozzolans blended cement through the use of Polypropylene fibers, Composites: Part B 61 (2014) 214–221.

Roohollah Bagherzadeh, Hamid Reza Pakravan, Abdol-Hossein Sadeghi, Masoud Latifi and Ali Akbar Merati, An investigation on adding polypropylene fibers to reinforce lightweight cement composites (LWC), Journal of Engineered Fibers and Fabrics, 7 (2012) 13-21.

G. Ferro, J.M. Tulliani, P. Jagdale and L. Restuccia, New concepts for next generation of high performance concretes, Procedia Materials Science 3 (2014) 1760–1766.