การออกแบบและพัฒนาเครื่องคัดแยกเมล็ดฝ้าย
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2024.12.004
คำสำคัญ:
เครื่องคัดแยก, เมล็ดฝ้าย, การออกแบบและการพัฒนา, ประสิทธิภาพบทคัดย่อ
งานวิจัยฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการออกแบบและพัฒนาเครื่องคัดแยกเมล็ดฝ้าย และเพื่อหาประสิทธิภาพของเครื่องคัดแยกเมล็ดฝ้ายสำหรับกลุ่มผ้าทอในอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี เพื่อแก้ไขปัญหาการคัดแยกเมล็ดฝ้ายออกจากปุยฝ้ายให้ใช้ระยะเวลาในการคัดแยกน้อยลง รวมถึงสามารถคัดแยกฝ้ายได้ในปริมาณตามความต้องการ โดยเครื่องคัดแยกเมล็ดฝ้ายที่ออกแบบมีขนาดโดยรวม ความกว้าง x ความยาว x ความสูง ประมาณ 500 x 280 x 410 มิลลิเมตร ซึ่งมีเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ ชุดโครงเครื่อง ชุดกรองเมล็ด ชุดใบเลื่อย ชุดแปรงปัดฝ้าย ชุดช่วยเพิ่มการหมุนฝ้าย ชุดรองรับฝ้าย ชุดส่งกำลัง ชุดต้นกำลัง ชุดควบคุม การทำงาน เป็นต้น ผลการทดสอบการทำงานและประสิทธิภาพของเครื่องคัดแยกเมล็ดฝ้าย พบว่า จากการทดสอบและใช้งานจริงของเครื่องคัดแยกเมล็ดฝ้าย สามารถคัดแยกเมล็ดฝ้ายทั้ง 2 สายพันธุ์ออกจากปุยฝ้ายได้ จำนวน 25 กรัม ภายในเวลา 1 นาที โดยที่ไม่มีเมล็ดแตกปะปนไปกับปุยฝ้าย และผลการเปรียบเทียบ เชิงเศรษฐศาสตร์ของเครื่องคัดแยกเมล็ดฝ้ายที่สร้างขึ้น มีความคุ้มค่ามากที่สุด เมื่อเทียบกับเครื่องคัดแยกเมล็ดฝ้ายที่มีจำหน่ายทั่วไป และรวมถึงการจ้างหีบและการใช้การอิ้วฝ้ายแบบเดิมอีกด้วย โดยมีระยะคืนทุนประมาณ 5 เดือน 1 วัน และจุดคุ้มทุนอยู่ที่ 1,816 กิโลกรัม / ปี มีค่าใช้จ่ายในการทำงานอยู่ที่ 33.4 บาท / กิโลกรัม
References
S. Yimprasert and T. Suntawan, Project Management guidelines for woman weaving groups, Ban rai district, Uthai Thani Province, The Journal of Graduate Studies Northern Rajabhat University, 2011, 1(1), 59-67. (in Thai)
S. Tuanthet, A study of Thai local wisdom in native fabrics focused on the ethnic Lao-Khrang in Suphanburi Chainard and Uthaithani, Master Degree, Srinakharinwirot University, 2012. (in Thai)
A. Obidov, M. Vokhidov and J. Abdurahmonov, Exploring the efficiency of experimental construction of sorting ginned cotton seed machine, Engineering, 2021, 13, 18-29.
R. Muradov, A. Sarimsakov and S. Rejabboev, Improving the seed sorting device to increase natural fiber yield at cotton ginning enterprises, E3S Web of Conferences, 2024, 486, 02032.
W. Chansrakoo, Research and development on ginning machine for cotton fiber, Department of Agriculture, Thailand, 2017, 1-34. (in Thai)
K. Saeweenan, N. Siriwan and W. Laotaweesub, Design and development of the Pallet Shot Machine, The Journal of Industrial Technology, 2024, 20(1), 186-200. (in Thai)
K. Prasad and S. Chakraborty, A QFD-based decision making model for computer - aided design software selection, Management Science Letters, 2016, 6, 213-224.
K. Chaiwanthum, Machine replacement analysis: A case study of mold manufacturing, Master Degree, Thammasat University, 2018, 1-81.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 https://ojs.kmutnb.ac.th/index.php/joindtech/article/view/7517

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานวิจัยและบทความวิชาการที่ปรากฏในวารสารนี้ เป็นความคิดเห็นอิสระของผู้เขียน ผู้เขียนจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใด ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากบทความนั้น กองบรรณาธิการและคณะจัดทำวารสารฯไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป