การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเชื้อเพลิงอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
DOI: 10.14416/j.ind.tech.2020.12.003
คำสำคัญ:
เชื้อเพลิงอัดแท่ง; วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร; ตะกอนแป้งมันสำปะหลังบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของเชื้อเพลิงอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรหลายชนิด ทาการศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรกับตัวประสาน และเปรียบเทียบคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของเชื้อเพลิงอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ดาเนินการทดลองโดยวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ได้แก่ กากอ้อย (BG) ขี้เลื่อยยางพารา (WS) ซังข้าวโพด (CC) ฟางข้าว (RS) ใบไม้ยางพารา (LP) และเศษไม้ยางพารา (RC) ผสมกับตะกอนแป้งมันสาปะหลังแห้ง (CS) เสมือนเป็นตัวประสาน ที่อัตราส่วนของ 0.25:0.75, 0.50:0.50 และ 0.75:0.25 กิโลกรัมต่อกิโลกรัม ตามลาดับ และขึ้นรูปเชื้อเพลิงอัดแท่งด้วยกระบวนการอัดเย็น จากนั้นศึกษาคุณสมบัติทางเคมีของเชื้อเพลิงอัดแท่งคือ ค่าความร้อน ปริมาณความชื้น และปริมาณเถ้า และคุณสมบัติทางกายภาพคือ ความหนาแน่นและดัชนีแตกร้าว รวมทั้งประสิทธิภาพการใช้งานของเชื้อเพลิงอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ผลการศึกษาพบว่า เชื้อเพลิงอัดแท่งของเศษไม้ยางพาราผสมกับตะกอนแป้งมันสาปะหลังที่อัตราส่วน 0.50:0.50 เป็นเชื้อเพลิงทางเลือกที่มีประสิทธิภาพสูงสุด (ค่าความร้อน 4,136.9728 แคลอรี่ต่อกรัม ปริมาณความชื้นและปริมาณเถ้า 7.33 และ 5.33 ร้อยละโดยน้าหนัก ตามลาดับ ความหนาแน่น 0.47 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร และดัชนีแตกร้าว 0.78) และสามารถประยุกต์เป็นแนวทางของการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรสาหรับใช้เป็นแหล่งพลังงานทางเลือกของชุมชน
References
[2] http://webkc.dede.go.th/testmax/sites/ default/ files/energy%20biomass.pdf. (Accessed on 15 June 2020)
[3] http://elib.dede.go.th/mm-data /Bib15106_ finalreport.pdf. (Accessed on 15 June 2020)
[4] N. Photong and J. Wongthanate, Biofuel Production from Bio-Waste by Biological and Physical Conversion Processes, Waste Management and Research, 2020, 38(1), 69-77.
[5] ASTM Standard D5865, Standard Test Method for Gross Calorific Value of Coal and Coke, ASTM International, West Conshohoc ken, PA, 2013.
[6] ASTM Standard D3173, Standard Test Method for Moisture in the Analysis Sample of Coal and Coke, ASTM International, West Conshohocken, PA, 2013.
[7] ASTM Standard D3174, Standard Test Method for Ash in the Analysis Sample of Coal and Coke, ASTM International, West Conshohocken, PA, 2013.
[8] N. Tanpaiboonkul and T. Budnumpetch, Molding and Binding Method on Properties of Fuel from Water Hyacinth, Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 2016, 3 (6), 86-100. (in Thai)
[9] R. Garcia, C. Pizarro, A. Gutiérrez Lavín and L. Julio Bueno, Characterization of Spanish biomass wastes for energy use, Bioresource Technology, 2012, 103, 249 - 258.
[10] L. Wattanachira, A. Thanyacharoen, N. Laa pan, and V. Chatchavarn, Development of Biobriquettes from Mixed Rice-straw and Longan Waste Residues, Journal of Research and Development Rajamangala University of Technology Lanna, 2016, 39(2), 239-255. (in Thai)
[11] A. Ussawarujikulchai, C. Semsayun, N. Prapakdee, N. Pieamsuwansiri and N. Chuchat, Utilization of Durian and mango- steen Peels as Briquette Fuel, 49th Kasetsart University Annual Conference, Proceeding, 2011, 162-168. (in Thai)
[12] Thai Industrial Standards Institute (TISI), Ministry of Industry. Thai Community Product Standards Charcoal Bar TCPS number 238/2547, 2004. (in Thai)
[13] Thai Industrial Standards Institute (TISI), Ministry of Industry, Ministry of Industry, Thai Community Product Standards Wood Charcoal for Cooking TCPs 657/2547, 2004.
[14] S. Sunthararuk, D. Makmon and W. Wongmalee, The Development of Charcoal Fuel Briquettes from Eucalyptus Leaves and Brasiliensis Leaves, 2nd National and International Research Conference 2018, Proceeding, 2018, 339-348. (in Thai)
[15] K. Saha, M. Hossain, R. Ali, and M. Alam, Feasibility Study of Coconut Coir Dust Briquette, Journal of the Bangladesh Agricultural University, 2014, 12(2), 369-376.
