การปรับปรุงสมบัติของโพลีสไตรีนที่ได้จากกระบวนการหลอมโฟมเพื่อในงานฉีด

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

วรุณศิริ จักรบุตร
พรรณราย รักษ์งาร
อำนวย ลาภเกษมสุข
ธีระพงษ์ ไชยเฉลิมวงศ์

摘要



การศึกษานี้เป็นการศึกษาสมบัติของเม็ดพลาสติกโพลีสไตรีนที่ได้จากกระบวนการหลอมโฟมและนำมาผสมกับยาง SBR โดยกำหนดสภาวะการหลอมและกระบวนการหลอมโฟมในทุกขั้นตอน จานนั้นจึงนำมาผสมกับยาง SBR ในสัดส่วนต่างๆ โดยจำกัดเปอร์เซ็นต์ยางไม่เกิน 20 เปอร์เซ็นต์ แล้วทดลองฉีดขึ้นรูปชิ้นงาน จากการศึกษาการกระจายตัวของเฟสยางในวัสดุผสมด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบสแกน พบว่าที่ปริมาณยางเปอร์เซ็นต์ยางต่ำ ยางจะมีการกระจายตัวได้ดี แต่ที่เปอร์เซ็นต์ยางต่ำๆ ยางจะมีการกระจายตัวได้ดี แต่ที่เปอร์เซ็นต์ยางมากขึ้นมีโอกาสที่ยางจะจับตัวกันเองและแยกเฟสได้ และเมื่อทดสอบสมบัติต่างๆ ของพลาสติกผสมพบว่า พลาสติกผสมมีค่าความหนาแน่นต่ำ และค่าดรรชนีการไหลลดลง แต่ค่าการทนต่อแรงกระแทกมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นตามอัตราส่วนของยางที่เพิ่มขึ้น การทดสอบการทนต่อแรงดึงของพลาสติกผสมพบว่ามีแนวโน้มลดอย่างต่อตามปริมาณของยาง SBR ที่เพิ่มขึ้นโดยมีค่าต่ำสุดที่ 15.21 MPa และค่าความแข็งที่ผิวมีแนวโน้มลอดลงอย่างต่อเนื่องตามปริมาณยางที่เพิ่มขึ้นและมีค่าต่ำสุดที่ 55.51 ที่อัตราส่วนของโพลีสไตรีนและยาง SBR ที่ อัตราส่วน 80 : 20 %




##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

##submission.howToCite##
จักรบุตร ว. ., รักษ์งาร พ. ., ลาภเกษมสุข อ. ., & ไชยเฉลิมวงศ์ ธ. . (2006). การปรับปรุงสมบัติของโพลีสไตรีนที่ได้จากกระบวนการหลอมโฟมเพื่อในงานฉีด. Frontiers in Engineering Innovation Research, 8, 1–9. 取读于 从 https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jermutt/article/view/242253
栏目
Research Articles

参考

Manas Chanda & Salil K.Roy, Plastics Technology Handbook, Marcel Dekker,New York

Michael L .Berlins, Plastics Engineering Handbook of the Society of the Plastics Industry, Inc. Van Nostrand Reinhold ,New York, 1991

Folks, M.J. and Hope, P.S. Polymer Blend and Alloys, Chapman and Hall, London 1993

Fayt, R, Hadjiandreou, P., and Teyssis,Immiscible Polymer Blends (online), 1998

Paul, D.R. Newman S., Polymer Blend. Vol.1-2 , Academic Press , New York, 1987